วารสารแม่โจ้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม 
Maejo Information Technology and Innovation Journal (MITIJ)
 ค้นหา | หน้าแรก   
 
 
 
» หน้าแรก
» ฉบับปัจจุบัน
» ฉบับย้อนหลัง
» ค้นหาวารสาร/บทความ
» ลงทะเบียน (OJS/PKP)
 

                               :: รายละเอียดบทความ ::
กลับสู่เมนูค้นหา 
ชื่อบทความ
การจำแนกความหมายภาพด้วยการสกัดฟีเจอร์จากโครงสร้างสเกตรีตรอน บนพื้นฐานแนวคิดกราฟลำดับชั้น
ชื่อผู้แต่ง นัศพ์ชาณัณ ชินปัญช์ธนะ (Nutchanun Chinpanthana)
หน่วยงาน คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ (Faculty of Information Technology, Dhurakij Pundit University)
ชื่อวารสาร วารสารแม่โจ้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2558
บทคัดย่อ
          การจำแนกความหมายภาพเป็นงานวิจัยที่ท้าทายอย่างมากในสาขาการประมวลผลภาพ มีนักวิจัยหลายกลุ่มพยายามปรับปรุงวิธีการเพื่อแก้ไขปัญหาของการแทนความหมายภาพด้วยการประมวลผลภาพระดับต่ำที่มีการใช้สถิติเข้ามาช่วยเพื่ออธิบายภาพ แต่อย่างไรวิธีการเหล่านั้นไม่สามารถที่จะนำมาใช้แทนความหมายของภาพได้อย่างแท้จริง  งานวิจัยนี้ได้นำเสนอวิธีการใหม่สำหรับการแปลความหมายภาพจากการรับรู้ของมนุษย์  ด้วยการใช้โครงสร้างสเกลตรีตรอนร่วมกับการคัดเลือกฟีเจอร์ที่สำคัญเพื่อเป็นข้อมูลที่ใช้ช่วยในการจำแนกภาพและนำแนวคิดพื้นฐานความสัมพันธ์ของกราฟแบบลำดับชั้นเข้ามาเพื่อใช้ในการจำแนกความหมายของภาพ สำหรับแนวคิดนี้จะใช้กราฟในการแทนความสัมพันธ์ของวัตถุในภาพ    ผลที่ได้จากการจำแนกความหมายภาพด้วย  วิธีที่นำเสนอใหม่นี้สามารถจำแนกความหมายของภาพได้ดีกว่าวิธีอื่นๆ และได้ค่าความถูกต้องสูงถึง  80.28%
คำสำคัญ ภาพดิจิทัล การประมวลผลภาพ ความหมาย กราฟลำดับขั้น การคัดเลือกฟีเจอร์
ปี พ.ศ. 2558
ปีที่ (Vol.) 1
ฉบับที่ (No.) 1
เดือนที่พิมพ์ มกราคม-มิถุนายน
เลขที่หน้า (Page) 38-54
ISSN 2672-9008 (Online)
DOI 10.14456/mitij.2015.2
ORCID_ID
ไฟล์บทความ https://mitij.mju.ac.th/ARTICLE/R58004.pdf
  
เอกสารอ้างอิง 
  Arnheim, Rudolph. (1974). Art and visual perception : a psychology of the creative eye. Calif. : University of California Press.
  Galleguillos, C. and Belongie, S. (2010). Context based object categorization: a critical survey. Computer Vision and Image Understanding, 114, 712-722.
  Hiremath, P.S., Akkasaligar, Prema T. and Badiger, Sharan. (2007). Comparison of wavelet based despeckling of medical ultrasound images. In International Conference on Advances in Computer Vision and Information Technology (pp. 1026-1031).
  Li, Jia and Wang, James Z. Wang. (2003). Automatic linguistic indexing of pictures by a statistical modeling approach. IEEE Transactions on Pattern Analysis and Machine Intelligence, 25(9), 1075-1088.
  Mezaris, Vasileios, Kompatsiaris, Ioannis and Strintzis, Michael G. (2003). An ontology approach to object-based image. In Proceedings of the IEEE International Conference on on Image Processing.
  Russell, B.C., Torralba, A., Murphy, K.P. and Freeman, W.T.. (2008). LabelMe : a database and web-based tool for image annotation. International Journal of Computer Vision, 77(1-3), 157–173.
  Smeulders, A. W. M., Worring, M., Santini, S., Gupta, A., and Jain, R. (2000). Content- based image retrieval at the end of the early years. IEEE Transactions on Pattern Analysis and Machine Intelligence, 22(12).
  Torralba, A., Russell, B.C. and Yuen, J. (2010). LabelMe : online image annotation and applications. In Proceedings of the IEEE, 98(8), 1467–1484.
  Xiao, Jianxiong. (2010). SUN database: large-scale scene recognition from abbey to zoo. Computer Vision and Pattern Recognition (CVPR), IEEE Conference, 3485–3492.
  R. O. Duda and P. E. Hart., “Pattern Classification and Scene Analysis”, New York: Wiley,1973.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
กลับสู่ เมนูค้นหา
       
กองบรรณาธิการวารสารแม่โจ้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยแม่โจ้
63 หมู่ 4 ต.หนองหาร อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ 50290  mitij@mju.ac.th