วารสารแม่โจ้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม 
Maejo Information Technology and Innovation Journal (MITIJ)
 ค้นหา | หน้าแรก   
 
 
 
» หน้าแรก
» ฉบับปัจจุบัน
» ฉบับย้อนหลัง
» ค้นหาวารสาร/บทความ
» ลงทะเบียน (OJS/PKP)
 

                               :: รายละเอียดบทความ ::
กลับสู่เมนูค้นหา 
ชื่อบทความ
การพัฒนาแบบจำลองโลจิสติกส์เพื่อจัดการศึกษาสำหรับมหาวิทยาลัย
ชื่อผู้แต่ง อรรถพล จันทร์สมุด (Artaphon Chansamut)
หน่วยงาน สำนักงานคณบดี คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ (Dean office Faculty of home Economic Technology Rajamangala university of Technology Krungthep)
ชื่อวารสาร วารสารแม่โจ้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2562
บทคัดย่อ
       บทความมีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบจำลองโลจิสติกส์เพื่อจัดการศึกษาสำหรับมหาวิทยาลัย และประเมินแบบจำลองโลจิสติกส์เพื่อจัดการศึกษาสำหรับมหาวิทยาลัย ประชากร คือ ผู้เชี่ยวชาญ ด้านโลจิสติกส์  จำนวน 5 ท่าน ด้านบริหารธุรกิจ  จำนวน 5 ท่าน รวมผู้เชี่ยวชาญทั้งหมดจำนวน 10 ท่าน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ประเมินความเหมาะสมของการพัฒนาออกแบบจำลองโลจิสติกส์เพื่อจัดการศึกษาสำหรับมหาวิทยาลัย  ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ  ได้แก่ องค์ประกอบหลัก ผู้ผลิตวัตถุดิบ  มหาวิทยาลัยผู้ให้บริการ ลูกค้า  และผู้บริโภค สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  การประเมินประสิทธิภาพของแบบจำลองประเมินใช้วิธี Black Box Testing ผลการประเมินของการพัฒนาแบบจำลองโลจิสติกส์เพื่อจัดการบริการศึกษาสำหรับมหาวิทยาลัย ภาพรวม มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.14 สรุปว่า สามารถนำแบบจำลองโลจิสติกส์เพื่อจัดการศึกษาสำหรับมหาวิทยาลัยประยุกต์ติดตั้งใช้ได้จริง
คำสำคัญ การพัฒนาแบบจำลองโลจิสติกส์, การจัดการศึกษาสำหรับมหาวิทยาลัย
ปี พ.ศ. 2562
ปีที่ (Vol.) 5
ฉบับที่ (No.) 1
เดือนที่พิมพ์ มกราคม-มิถุนายน
เลขที่หน้า (Page) 49-63
ISSN 2672-9008 (Online)
DOI 10.14456/mitij.2019.6
ORCID_ID 0000-0001-8820-3846
ไฟล์บทความ https://mitij.mju.ac.th/ARTICLE/R62005.pdf
  
เอกสารอ้างอิง 
  กิตติยา ปริญญาสุรเดช และ ปรียานัฐ เอี๊ยบศิริเมธี. (2558). การจัดการโซ่อุปทานผ้าซิ่นยวนบ้านโนนกุ่ม อำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา. การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัย ระดับชาติ“สร้างสรรค์การพัฒนาเพื่อก้าวสู่ประชาคมอาเซียน” ครั้งที่ 2 18-19 มิถุนายน 2558 ณ วิทยาลัยนครราชสีมาอำเภอเมือง จังหวัดนคราชสีมา: ภาคโปสเตอร์. สืบค้นเมื่อ 22 มีนาคม 2560. จาก http://journal. nmc.ac.th/th/ admin/Journal/2558 Vol3No1_76.pdf.
  คำนาย อภิปรัชญาสกุล. (2555). คู่มือพัฒนาความสามารถด้านโลจิสติกส์ของอุตสาหกรรมและการเหมืองแร่. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร :บริษัท โฟกัสมีเดีย แอนด์ พับลิชชิ่งจำกัด.
  _________________. (2554). โลจิสติกส์ และโซ่อุปทาน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : บริษัท โฟกัสมีเดียแอนดี พับลิชซิ่ง จำกัด.
  _________________. (2553). การบริหารระบบข้อมูล ด้วยโลจิสติกส์. บริษัท โฟกัสมีเดีย พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร : แอนดิ พับลิชซิ่ง จำกัด.
  จันทรรัตน์ ศิริวุฒิพงศ์และคณะ. (2560). การพัฒนารูปแบบโซ่อุปทานในอุตสาหกรรมผลิตเสื้อผ้า : กรณีศึกษา อ.ปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา. วารสารคหเศรษฐศาสตร์. ปีที่ 60 ฉบับที่ 2.
  สุวรรณชัย โลหะวัฒนกูล. (2546). Integrated Supply Chain in Garment industry. สืบค้นเมื่อ 13 พฤศจิกายน 2559. จาก http://www2. ftpi.or.th/dwnld/pworld/pw45/45integrated.pdf.
  สุทธิวรรณ สังวร และจิรัตน์ ธีระวราพฤกษ์. (2555). ต้นทุนโซ่อุปทานของปลาส้มฟัก:กรณีศึกษา OTOP อำเภอบ่านหมี่ จังหวัดลพบุรี. วารสารบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร. ปีที่ 9 (1) (มกราคม-มิถุนายน), 84-97.
  สัญชัย ลั้งแท้กุล และ เจษฎา นกน้อย. (2557). รูปแบบโซ่อุปทานและประสิทธิภาพการจัดการโซ่อุปทานและโลจิสติกส์อุตสาหกรรมการผลิตข้าวสังข์หยดเมืองพัทลุง:ระดับขั้นเกษตรกรและกลุ่มวิสาหกิจแปรรูป. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต. สืบค้นเมื่อ 22 มีนาคม 2560. จาก: http://j-com-dev-and- life- qua.oop.cmu.ac.th/uploads/article/191/132/3.pd.
  อรรถพล จันทร์สมุด. (2559). กรอบแนวคิดการวางแผนจัดการทรัพยากรองค์กรด้วยธุรกิจอัจฉริยะในสถาบันอุดมศึกษา. วารสารสังคมศาสตร์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2.
  อรรถพล จันทร์สมุด, พัลลภ พิริยะสุรวงศ์. (2559). ระบบสารสนเทศการบริหารห่วงโซ่อุปทานเพื่อการจัดการหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ. วิทยานิพนธ์ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
  อรรถพล จันทร์สมุด. (2561). การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารห่วงโซ่อุปทานเพื่อจัดการโครงการในสถาบันอุดมศึกษา. วารสารแม่โจ้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม ปีที่ 4 ฉบับที่ 2.
  Artaphon Chansamut, Pallop Piriyasurawong. (2014). Conceptual framework of SCM-IS for curriculum management based on Thailand Qualifications Framework for Higher Education. International Journal of Managing Value and Supply Chains (IJMVSC) Vol.5, No4,:33-45.
  Artaphon Chansamut, Pallop Piriyasurawong. (2019). Supply Chain Management Information System for Curriculum Management Based on The National Qualifications Framework for Higher Education. Interattional Journal of Supply Chain and operations Management (IJSOM). Volume 1, Issue 1.
  Phonsuwan, S., and Kachitvichyanukul, V., (2011). Management Syatem Model to Support Decision-Making for Micro and Small Business of Rural Enterprise in Thailand. International Science, Social Science, Engineerind and Energy Conference 2010: Engineering Science and Management : (December) 501-502.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
กลับสู่ เมนูค้นหา
       
กองบรรณาธิการวารสารแม่โจ้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยแม่โจ้
63 หมู่ 4 ต.หนองหาร อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ 50290  mitij@mju.ac.th