ชื่อบทความ |
การพัฒนาสื่อประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจหลังสถานการณ์น้ำท่วมของจังหวัดมหาสารคาม ในรูปแบบสื่อผสม Infographic Animation
|
ชื่อบทความ(English) |
Development of tourism destination media to revitalize the economy after the flood situation of Maha Sarakham Province in the form of Infographic Animation
|
|
|
ประเภทบทความ |
บทความวิจัย
|
ชื่อผู้แต่ง |
ชเนตตี อินทรสิทธิ์(1*), บัณฑิต สุวรรณโท(2), มณีรัตน์ ผลประเสริฐ(3), อิสรา ชื่นตา(4) และ สมร เหล็กกล้า(5) (Chanettee Intarasit(1*), Bundit Suwannato(2), Maneerat Phonprasert(3), Issara Chuenta(4) and Simon Lekkha(5))
|
หน่วยงาน |
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม(1,2,3,4,5)(Information Technology Department, Faculty of Information Technology,
Rajabhat Mahasarakham University)(1,2,3,4,5) *Corresponding anthor: chanettee2011@hotmail.com
|
ชื่อวารสาร |
วารสารแม่โจ้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2567
|
บทคัดย่อ |
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาสื่อประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจหลังสถานการณ์น้ำท่วมของจังหวัดมหาสารคาม ในรูปแบบสื่อผสม Infographic Animation และ 2) ศึกษาความพึงพอใจต่อสื่อประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจหลังสถานการณ์น้ำท่วมของจังหวัดมหาสารคาม ในรูปแบบสื่อผสม Infographic Animation กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ ประชาชน จำนวน 100 คน ได้มาด้วยวิธีการสุ่มแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1) สื่อประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจหลังสถานการณ์น้ำท่วมของจังหวัดมหาสารคาม ในรูปแบบสื่อผสม Infographic Animation และ 2) แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อสื่อประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจหลังสถานการณ์น้ำท่วมของจังหวัดมหาสารคาม ในรูปแบบสื่อผสม Infographic Animation
ผลการวิจัย พบว่า สื่อประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจหลังสถานการณ์น้ำท่วมของจังหวัดมหาสารคาม โดยภาพรวมมีคุณภาพอยู่ในระดับมาก พัฒนาในรูปแบบสื่อผสมระหว่าง Inforgraphic Animation ซึ่งแบ่งเป็นการนำเสนอสถานที่ท่องเที่ยว 5 ตอน ได้แก่ 1) อุทยานมัจฉาโขงกุดหวาย 2) พระพุทธรูปยืนมงคล 3) พระบรมธาตุนาดูน 4) วนอุทยานโกสัมพี และ 5) วัดป่าวังน้ำเย็น และกลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อสื่อประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจหลังสถานการณ์น้ำท่วมในจังหวัดมหาสารคาม อยู่ในระดับมาก ( = 4.35, S.D. = 0.79 )
|
คำสำคัญ |
สื่อประชาสัมพันธ์; แหล่งท่องเที่ยว; ฟื้นฟูเศรษฐกิจ; อินโฟกราฟิก
|
ปี พ.ศ. |
2567
|
ปีที่ (Vol.) |
10
|
ฉบับที่ (No.) |
2
|
เดือนที่พิมพ์ |
พฤษภาคม - สิงหาคม
|
เลขที่หน้า (Page) |
129-142
|
ISSN |
ISSN 3027-7280 (Online)
|
DOI |
|
ORCID_ID |
0000-0003-1610-2346
|
ไฟล์บทความ |
https://mitij.mju.ac.th/ARTICLE/R67028.pdf
|
| |
เอกสารอ้างอิง | |
|
ฉันทนา ปาปัดถา และ อรปรียา หนองใหญ่. (2562). โมชันอินโฟกราฟิกระบบการรับสมัครนักศึกษา คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร. วารสารวิจัยและ นวัตกรรม สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร 2(2).
|
|
ทิพย์สุคนธ์ เพชรโอภาส. (2563). แอนิเมชันสองมิติเรื่อง ขั้นตอนการออกแบบอินโฟกราฟิก. วารสารวิชาการศรีปทุม ชลบุรี 16(4).
|
|
นันทรัตน์ กลิ่นหอม และคณะ. (2565). การพัฒนาสื่อวิดีโออินโฟกราฟิกการจัดการความรู้เรื่อง ปัญหา การเรียนออนไลน์. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก 2(2).
|
|
บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องต้น (ฉบับปรับปรุงใหม่). ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : สุวิริยาสาส์น.
|
|
พรปภัสสร ปริญชาญกล และคณะ. (2560). การพัฒนาสื่อวิดีโออินโฟกราฟิกแบบมีปฏิสัมพันธ์บน เครือข่ายสังคม เรื่อง กระบวนการผลิตรายการโทรทัศน์ประเภทบันเทิงบริษัท โมโน บรอดคาซท์ จำกัด. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ 16(21).
|
|
วรัญญา เดชพงษ์ และคณะ. (2560). การผลิตสื่อผสมระหว่างอินโฟกราฟิกและแอนิเมชัน 3 มิติ นำเสนอโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริของรัชกาลที่ 9 ให้แก่สำนักงานคณะกรรมการ พิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ. 10th National Conference on Technical Education.
|
|
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2561). ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580). พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการ ยุทธศาสตร์ชาติ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
|
|
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2565). เป้าหมายและแนวทางการพัฒนา
ภาคเหนือ (พ.ศ.2566 - 2570). สำนักงานเลขานุการ คณะกรรมการนโยบายการบริหารงาน เชิงพื้นที่แบบบูรณาการ สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
|
|
อณพสิษฐ ไชยเชษฐ์, รัชดา ภักดียิ่ง และ จริยา ปันทวังกูร. (2564). การพัฒนาสื่อประชาสัมพันธ์ อิเล็กทรอนิกส์เพื่อการท่องเที่ยวเชิงพุทธในจังหวัดขอนแก่น. Journal of Buddhist Education and Research 7(1).
|
|
อำนาจ หังษา และ กุลกนิษฐ์ ทองเงา. (2562). การพัฒนาสื่อประชาสัมพันธ์ความเป็นจริงเสริมเพื่อ การท่องเที่ยวในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยการจัดการและ เทคโนโลยีอีสเทิร์น 16(1).
|
|
Taro YAMANE. (1973). Statistics. An introductory analysis. Third edition. Harper and
Row.
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|