วารสารแม่โจ้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม 
Maejo Information Technology and Innovation Journal (MITIJ)
 ค้นหา | หน้าแรก   
 
 
 
» หน้าแรก
» ฉบับปัจจุบัน
» ฉบับย้อนหลัง
» ค้นหาวารสาร/บทความ
» ลงทะเบียน (OJS/PKP)
 

                               :: รายละเอียดบทความ ::
กลับสู่เมนูค้นหา 
ชื่อบทความ
โควิด-19 เกมสำหรับผู้เป็นที่รักของฉัน
ชื่อบทความ(English)
COVID-19 Game for My Beloved
ประเภทบทความ
บทความวิจัย
ชื่อผู้แต่ง สมนึก สินธุปวน(1*), อัศวิน วัฒนาประดิษฐชัย(1), ก่องกาญจน์ ดุลยไชย(1) และ พยุงศักดิ์ เกษมสำราญ(1) (Somnuk Sinthupoun(1*), Assavin Watthanapraditchai(1), Kongkarn Dullayachai(1) and Payungsak Kasemsumran(1))
หน่วยงาน สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้(1) (Department of Computer, Science Faculty of Science, Mae Jo University(1)) *Corresponding author: somnuek@mju.ac.th
ชื่อวารสาร วารสารแม่โจ้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2567
บทคัดย่อ

            โรคโควิด-19 เป็นโรคที่ระบาดอย่างหนักในประเทศไทยและทั่วโลก การปฏิบัติตนเพื่อทำให้ตนเองหางไกลจากการติดเชื้อจากโรคโควิด-19 และป้องกันตนเองในการแพร่ระบาดของเชื้อจาก    โรคโควิด-19 สู่บุคคลอื่นยังมีความจำเป็นโดยเฉพาะสำหรับกลุ่มนักเรียนในโรงเรียน เพราะนักเรียนมีกิจกรรมร่วมกันทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียนดังนั้นจึงมีโอกาศในการติดเชื้อและแพร่ระบายเชื้อในโรงเรียนจึงสามารถเกิดขึ้นได้โดยง่าย เกมสำหรับคนที่ฉันรักจึงได้รับการพัฒนาขึ้นเป็นเกม RPG โดยมีวัตถุประสงค์คือ เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ของนักเรียนด้วยเกมที่พัฒนาขึ้นเอง จำนวน 3 ด้าน ซึ่งประกอบด้วย 1) ความรู้เกี่ยวกับโรคโควิด-19 2) ความรู้เกี่ยวกับวิธีการป้องกันตนเองจากโรคโควิด-19 และ3) ความรู้เกี่ยวกับยารักษาโรคโควิด-19 ผลจากการศึกษาพบว่า ผลการเรียนรู้ของผู้เล่นมีแนวโน้มค่าเฉลี่ยดีขึ้นจำนวน 2 ด้าน ประกอบด้วย 1) การให้ความรู้เกี่ยวกับโรคโควิด-19 และ 2) การให้ความรู้เกี่ยวกับยารักษาโรคโควิด-19 มีเพียง 1 ด้าน ที่ยังไม่มีแนวโน้มค่าเฉลี่ยที่ดีขึ้น คือ การป้องกันโรคโควิด-19

คำสำคัญ เกมอาร์พีจี, ความรู้เกี่ยวกับโควิด-19, การป้องกันโควิด-19, ยารักษาโรคโควิด-19, การแยกตัวอยู่บ้าน
ปี พ.ศ. 2567
ปีที่ (Vol.) 10
ฉบับที่ (No.) 2
เดือนที่พิมพ์ พฤษภาคม - สิงหาคม
เลขที่หน้า (Page) 111-128
ISSN ISSN 3027-7280 (Online)
DOI 10.14456/mitij.2024.15
ORCID iD 0000-0003-1461-1243
ไฟล์บทความ https://mitij.mju.ac.th/ARTICLE/R67027.pdf
  
เอกสารอ้างอิง 
  คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ม.มหิดล. (2566). ข้อมูลยาฟาวิพิราเวียร์. ค้นเมื่อ 4 มกราคม 2566. ค้นจาก ttps://www.rama.mahidol.ac.th/atrama/ issue041/rama-rdu.
  พงษ์พิพัฒน์ สายทอง, วีรภัทร จันทรจตุรภัทร, และ ศิวดล ภาภิรมย์. (2564). การออกแบบเกม ดิจิทัล. วารสารวิชาการวิทยาลัยสันตพล 7 (2): 217-228.
  พนิดา เทวินสืบ, วิวัฒน์ มีสุวรรณ์, และจักรกฤษณ์ เสน่ห์ นมะหุต. (2014). การพัฒนาเกม คอมพิวเตอร์แบบอาร์พีจี เพื่อส่งเสริมการเรียนร้เรื่องประชาคมอาเซียนสําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนแม่แป้นวิทยา จังหวัดลําปาง. In Graduate Research Conference 2014 (หน้า 2661-2668). khon Koon University.
  พิพัฒน์ พะโยม, เฉลิมรัฐ สอนกลิ่น และ พรนรินทร์ สายกลิ่น. (2564). การพัฒนาเกมแนะนำสถานที่ ในมหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ สำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร 1(1): 797-811.
  ภัทรพล เจนพรมราช. (2562). เกมและสถานการณ์จำลองเพื่อการเรียนรู้การอนุรักษ์สัตว์เลี้ยงลูก ด้วยนม. (การค้นคว้าอิสระ วท.บ. (ชีววิทยา)). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  มหาวิทยาลัยมหิดล. (2563). การป้องกันตัวจากโควิด-19. ค้นเมื่อ 4 มกราคม 2566. ค้นจาก https://www.gj.mahidol.ac.th/main/covid19/preventioncovid/.
  ศุภชัย เสาร์แบน, นฤดม ค่ำสว่าง, วรัญญา คุ้มพวง และ พิณรัตน์ นุชโพธิ์. (2022). การพัฒนาเกม เพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19. วารสารวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม 3 (3) :1-12.
  อธิตญา แสงเจริญ และ วิลัยพร ไชยสิทธิ์. (2561). การพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์แบบ RPG เพื่อส่งเสริม การเรียนรู้ทางด้านคณิตศาสตร์สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 6 ราชภัฏหมู่บ้านจอมบึงวิจัย (หน้า 163-171).
  อัชฌาพร กว้างสวาสดิ์ และณกฤช รัตนวงศา. (2562). การผลิตสื่อวีดีทัศน์การประชาสัมพันธ์เกม ออนไลน์ ลาเทลดับเบิ้ลยู. การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยโทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ (ครั้งที่ 4) และการประชุมระดับนานาชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ (ครั้งที่ 1).
  World Health Organization. (2564). ข้อมูลเกี่ยวกับโควิด-19. ค้นเมื่อ 4 มกราคม 2566. ค้นจาก https://www.who.int/thailand/emergencies/novel-coronavirus-2019/q-a-on-covid-19/q-a-on-covid-19-general.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
กลับสู่ หน้าจอหลัก
       
กองบรรณาธิการวารสารแม่โจ้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยแม่โจ้
63 หมู่ 4 ต.หนองหาร อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ 50290  mitij@mju.ac.th