วารสารแม่โจ้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม 
Maejo Information Technology and Innovation Journal (MITIJ)
 ค้นหา | หน้าแรก   
 
 
 
» หน้าแรก
» ฉบับปัจจุบัน
» ฉบับย้อนหลัง
» ค้นหาวารสาร/บทความ
» ลงทะเบียน (OJS/PKP)
 

                               :: รายละเอียดบทความ ::
กลับสู่เมนูค้นหา 
ชื่อบทความ
การพัฒนาสื่อประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจหลังสถานการณ์น้ำท่วมของจังหวัดมหาสารคาม ในรูปแบบสื่อผสม Infographic Animation
ชื่อบทความ(English)
Development of tourism destination media to revitalize the economy after the flood situation of Maha Sarakham Province in the form of Infographic Animation
ประเภทบทความ
บทความวิจัย
ชื่อผู้แต่ง ชเนตตี อินทรสิทธิ์(1*), บัณฑิต สุวรรณโท(2), มณีรัตน์ ผลประเสริฐ(3), อิสรา ชื่นตา(4) และ สมร เหล็กกล้า(5) (Chanettee Intarasit(1*), Bundit Suwannato(2), Maneerat Phonprasert(3), Issara Chuenta(4) and Simon Lekkha(5))
หน่วยงาน สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม(1,2,3,4,5)(Information Technology Department, Faculty of Information Technology, Rajabhat Mahasarakham University)(1,2,3,4,5) *Corresponding anthor: chanettee2011@hotmail.com
ชื่อวารสาร วารสารแม่โจ้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2567
บทคัดย่อ

         งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาสื่อประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจหลังสถานการณ์น้ำท่วมของจังหวัดมหาสารคาม ในรูปแบบสื่อผสม Infographic Animation และ 2) ศึกษาความพึงพอใจต่อสื่อประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจหลังสถานการณ์น้ำท่วมของจังหวัดมหาสารคาม ในรูปแบบสื่อผสม Infographic Animation กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ ประชาชน จำนวน 100 คน ได้มาด้วยวิธีการสุ่มแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1) สื่อประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจหลังสถานการณ์น้ำท่วมของจังหวัดมหาสารคาม ในรูปแบบสื่อผสม Infographic Animation และ 2) แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อสื่อประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจหลังสถานการณ์น้ำท่วมของจังหวัดมหาสารคาม ในรูปแบบสื่อผสม Infographic Animation

            ผลการวิจัย พบว่า สื่อประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจหลังสถานการณ์น้ำท่วมของจังหวัดมหาสารคาม โดยภาพรวมมีคุณภาพอยู่ในระดับมาก พัฒนาในรูปแบบสื่อผสมระหว่าง Inforgraphic Animation ซึ่งแบ่งเป็นการนำเสนอสถานที่ท่องเที่ยว 5 ตอน ได้แก่ 1) อุทยานมัจฉาโขงกุดหวาย 2) พระพุทธรูปยืนมงคล 3) พระบรมธาตุนาดูน 4) วนอุทยานโกสัมพี และ 5) วัดป่าวังน้ำเย็น และกลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อสื่อประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจหลังสถานการณ์น้ำท่วมในจังหวัดมหาสารคาม อยู่ในระดับมาก  ( = 4.35, S.D. = 0.79 )

คำสำคัญ สื่อประชาสัมพันธ์; แหล่งท่องเที่ยว; ฟื้นฟูเศรษฐกิจ; อินโฟกราฟิก
ปี พ.ศ. 2567
ปีที่ (Vol.) 10
ฉบับที่ (No.) 2
เดือนที่พิมพ์ พฤษภาคม - สิงหาคม
เลขที่หน้า (Page) 129-142
ISSN ISSN 3027-7280 (Online)
DOI
ORCID iD 0000-0003-1610-2346
ไฟล์บทความ https://mitij.mju.ac.th/ARTICLE/R67028.pdf
  
เอกสารอ้างอิง 
  ฉันทนา ปาปัดถา และ อรปรียา หนองใหญ่. (2562). โมชันอินโฟกราฟิกระบบการรับสมัครนักศึกษา คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร. วารสารวิจัยและ นวัตกรรม สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร 2(2).
  ทิพย์สุคนธ์ เพชรโอภาส. (2563). แอนิเมชันสองมิติเรื่อง ขั้นตอนการออกแบบอินโฟกราฟิก. วารสารวิชาการศรีปทุม ชลบุรี 16(4).
  นันทรัตน์ กลิ่นหอม และคณะ. (2565). การพัฒนาสื่อวิดีโออินโฟกราฟิกการจัดการความรู้เรื่อง ปัญหา การเรียนออนไลน์. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก 2(2).
  บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องต้น (ฉบับปรับปรุงใหม่). ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : สุวิริยาสาส์น.
  พรปภัสสร ปริญชาญกล และคณะ. (2560). การพัฒนาสื่อวิดีโออินโฟกราฟิกแบบมีปฏิสัมพันธ์บน เครือข่ายสังคม เรื่อง กระบวนการผลิตรายการโทรทัศน์ประเภทบันเทิงบริษัท โมโน บรอดคาซท์ จำกัด. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ 16(21).
  วรัญญา เดชพงษ์ และคณะ. (2560). การผลิตสื่อผสมระหว่างอินโฟกราฟิกและแอนิเมชัน 3 มิติ นำเสนอโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริของรัชกาลที่ 9 ให้แก่สำนักงานคณะกรรมการ พิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ. 10th National Conference on Technical Education.
  สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2561). ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580). พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการ ยุทธศาสตร์ชาติ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
  สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2565). เป้าหมายและแนวทางการพัฒนา ภาคเหนือ (พ.ศ.2566 - 2570). สำนักงานเลขานุการ คณะกรรมการนโยบายการบริหารงาน เชิงพื้นที่แบบบูรณาการ สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
  อณพสิษฐ ไชยเชษฐ์, รัชดา ภักดียิ่ง และ จริยา ปันทวังกูร. (2564). การพัฒนาสื่อประชาสัมพันธ์ อิเล็กทรอนิกส์เพื่อการท่องเที่ยวเชิงพุทธในจังหวัดขอนแก่น. Journal of Buddhist Education and Research 7(1).
  อำนาจ หังษา และ กุลกนิษฐ์ ทองเงา. (2562). การพัฒนาสื่อประชาสัมพันธ์ความเป็นจริงเสริมเพื่อ การท่องเที่ยวในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยการจัดการและ เทคโนโลยีอีสเทิร์น 16(1).
  Taro YAMANE. (1973). Statistics. An introductory analysis. Third edition. Harper and Row.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
กลับสู่ หน้าจอหลัก
       
กองบรรณาธิการวารสารแม่โจ้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยแม่โจ้
63 หมู่ 4 ต.หนองหาร อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ 50290  mitij@mju.ac.th