ชื่อบทความ |
กรอบแนวคิดธุรกิจอัจริยะเพื่อการจัดการศึกษาในโซ่อุปทานตามมาตรฐานอาชีพของไทยสำหรับอาชีวศึกษา
|
ชื่อบทความ(English) |
Smart Business Concept for Educational Management in supply chain according to Career standards on Thailand Qualifications Framework for Vocational Education
|
|
|
ประเภทบทความ |
บทความวิจัย
|
ชื่อผู้แต่ง |
อรรถพล จันทร์สมุด (Artaphon Chansamut)
|
หน่วยงาน |
สำนักงานคณบดี คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ (Dean office Faculty of home Economic Technology Rajamangala university of Technology Krungthep)
|
ชื่อวารสาร |
วารสารแม่โจ้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2563
|
บทคัดย่อ |
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อสังเคราะห์กรอบแนวคิดธุรกิจอัจริยะเพื่อการจัดการศึกษาในโซ่อุปทานตามมาตรฐานอาชีพของไทยสำหรับอาชีวศึกษา 2) เพื่อประเมินกรอบแนวคิดกรอบแนวคิดธุรกิจอัจริยะเพื่อการจัดการศึกษาในโซ่อุปทานตามมาตรฐานอาชีพของไทยสำหรับอาชีวศึกษา กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้เชี่ยวชาญ ด้านห่วงโซ่อุปทาน จำนวน 5 ท่าน ผู้เชี่ยวชาญ ด้านหลักสูตร จำนวน 2 ท่าน และผู้เชี่ยวชาญ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ จำนวน 3 ท่าน รวมผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด จำนวน 10 ท่าน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษา พบว่า กรอบแนวคิดธุรกิจอัจริยะเพื่อการจัดการศึกษาในโซ่อุปทานตามมาตรฐานอาชีพของไทยสำหรับอาชีวศึกษา มีองค์ประกอบหลัก 4 องค์ประกอบ ได้แก่ ผู้ส่งมอบ ผู้ผลิต ลูกค้าทางการศึกษา และผู้บริโภคผลการประเมินกรอบแนวคิดธุรกิจอัจริยะเพื่อการจัดการศึกษาในโซ่อุปทานตามมาตรฐานอาชีพของไทยสำหรับอาชีวศึกษามีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ยรวม เท่ากับ 3.54 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.52 หมายความว่า กรอบแนวคิดอาจจะสามารถพัฒนาธุรกิจอัจริยะได้
|
คำสำคัญ |
การสังเคราะห์กรอบแนวคิด, ธุรกิจอัจริยะ, การจัดการศึกษาในโซ่อุปทานตามมาตรฐานอาชีพของไทยสำหรับอาชีวศึกษา
|
ปี พ.ศ. |
2563
|
ปีที่ (Vol.) |
6
|
ฉบับที่ (No.) |
2
|
เดือนที่พิมพ์ |
กรกฏาคม-ธันวาคม
|
เลขที่หน้า (Page) |
9-16
|
ISSN |
2672-9008 (Online)
|
DOI |
10.14456/mitij.2020.8
|
ORCID_ID |
0000-0001-8820-3846
|
ไฟล์บทความ |
https://mitij.mju.ac.th/ARTICLE/R63011.pdf
|
| |
เอกสารอ้างอิง | |
|
อรรถพล จันทร์สมุด. (2561). แบบจำลองระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการงานสอนสำหรับอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา. วารสารแม่โจ้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม ปีที่ 4 ฉบับที่ 1.
|
|
อรรถพล จันทร์สมุด. (2562). การพัฒนารูปแบบระบบสารสนเทศการบริหารห่วงโซ่อุปทานอุตสาหกรรมผลิตสินค้าฮาลาลของไทย. วารสารแม่โจ้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม ปีที่ 5 ฉบับที่ 1.
|
|
อรรถพล จันทร์สมุด. (2559). กรอบแนวคิดการวางแผนจัดการทรัพยากรด้วยธุรกิจอัจริยะในสถาบันอุดมศึกษา. วารสารสังคมศาตร์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1.
|
|
เอกชัย เนาวนิช และณมน จีรังสุวรรณ. 2560. การพัฒนาระบบธุรกิจอัจริยะเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจผู้บริหาร ในการก้าวสู่อาชีพอย่างสากลของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี ปีที่ 6 ฉบับที่ 1.
|
|
Amy Roach Partridge. (2013). Business Intelligence in the Supply Chain. [Accessed: 1 November 2020]. Available: https://www.inboundlogistics.com/cms/article/business-intelligence-in-the- supply-chain.
|
|
Artaphon Chansamut, Pallop Piriyasurawong. (2014). Conceptual framework of SCM-IS for Curriculum management based on Thailand Qualifications Framework for Higher Education. International Journal of Managing Value and Supply Chains (IJMVSC) Vol.5, No4,:33-45.
|
|
Sahay B.S. and Ranjan Jayanthi R. (2009). Real time business intelligence in supply chain Analytics. [Accessed: 1 November 2020]. Available: http://im1.im.tku.edu.tw/~cjou/bi2009/4.pdf.
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|