ชื่อบทความ |
การพัฒนาต้นแบบระบบควบคุมถังขยะภายในสำนักงาน เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตวิถีใหม่
|
ชื่อบทความ(English) |
The development of a prototype of the trash control system in the office to develop a quality of new normal
|
|
|
ประเภทบทความ |
บทความวิจัย
|
ชื่อผู้แต่ง |
สาวิตรี ยอดราช(1) และ วิภาวรรณ บัวทอง(1) (Sawitree Yodrach and Wipawan Buathong)
|
หน่วยงาน |
สาขาวิชาเทคโนโลยีดิจิทัล คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต (1)
|
ชื่อวารสาร |
วารสารแม่โจ้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2565
|
บทคัดย่อ |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาต้นแบบระบบควบคุมถังขยะภายในสำนักงาน (2) หาประสิทธิภาพการพัฒนาต้นแบบระบบควบคุมถังขยะภายในสำนักงาน และ (3) หาความพึงพอใจการพัฒนาต้นแบบระบบควบคุมถังขยะภายในสำนักงาน ผู้วิจัยได้มีการเก็บข้อมูลการวิจัยเชิงคุณภาพโดยใช้กลุ่มตัวอย่างจากการประเมินประสิทธิภาพของผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับ อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง (Internet of things : IoT) จำนวน 3 ท่าน และการประเมินความพึงพอใจของบุคคลทั่วไปที่เป็นอาสาสมัครใช้งานระบบควบคุมถังขยะภายในสำนักงาน จำนวน 30 คน เลือกใช้วิธีการสุ่มแบบเจาะจง มีการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผลการประเมินประสิทธิภาพการพัฒนาต้นแบบควบคุมถังขยะภายในสำนักงาน เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตวิถีใหม่ พบว่า ประสิทธิภาพการทำงานของ Servo Motor ในการเปิด-ปิดถังขยะ มีประสิทธิภาพ 100% ประสิทธิภาพเซนเซอร์ในแจ้งเตือนภายในถังขยะ มีประสิทธิภาพ ไม่น้อยกว่า 90% และ ประสิทธิภาพการควบคุมการเคลื่อนที่ของถังขยะผ่าน Smart Phone มีประสิทธิภาพ 100% ผลการประเมินความพึงพอใจการพัฒนาต้นแบบระบบควบคุมถังขยะภายในสำนักงาน พบว่า ผู้ตอบแบบตอบถามส่วนใหม่มีความพึงพอใจ โดยภาพรวมอยู่ในระดับ มากที่สุด ( = 4.59, S.D. = 0.56)
|
คำสำคัญ |
ต้นแบบระบบควบคุมถังขยะภายในสำนักงาน, การแจ้งเตือนผ่านไลน์, ถังขยะ, เซนเซอร์, อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง
|
ปี พ.ศ. |
2565
|
ปีที่ (Vol.) |
8
|
ฉบับที่ (No.) |
1
|
เดือนที่พิมพ์ |
มกราคม - มิถุนายน
|
เลขที่หน้า (Page) |
1-14
|
ISSN |
ISSN 2672-9008 (Online)
|
DOI |
10.14456/mitij.2022.1
|
ORCID_ID |
|
ไฟล์บทความ |
https://mitij.mju.ac.th/ARTICLE/R65001.pdf
|
| |
เอกสารอ้างอิง | |
|
nodemcurobot.blogspot.com (2565, 31, 5). ตัวอย่างโปรเจค IT ESP8266. [online] Availblehttp://nodemcurobot.blogspot.com/2019/05/esp8266-nodemcu-arduino-ide.htm
|
|
Sensor Technology Strategy for Thailand 4.0. สืบค้นเมื่อวันที่ 12 เมษายน 2564, จากเว็บไซต์ https://www.nstda.or.th/nac/2018/images/SensorStrategy.pdf
|
|
กรมควบคุมโรค. สืบค้นเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2564, จากเว็บไซต์ https://ddc.moph.go.th/index.php
|
|
กระทรวงสาธารณสุข. สืบค้นเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2564, จากเว็บไซต์ https://moph.go.th
|
|
การป้องกันและการแพร่เชื้อและการติดต่อ. สืบค้นเมื่อวันที่ 14 เมษายน 2565, จากเว็บไซต์ https://kuza.me/Npt9f
|
|
การแพร่เชื้อ COVID-19. สืบค้นเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2564, จากเว็บไซต์ https://www.who.int/มหาวิทยาลัยมหิดล
|
|
ทิพานันท์ พงษ์สุวรรณ และคณะ. (2560). ระบบติดตามถังขยะอัจฉริยะ. ขอนแก่น : สำนักหอสมุด
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
|
|
นัทกมล ผินนอก. (2563). การพัฒนาระบบเซนเซอร์สำหรับตรวจสอบและวิเคราะห์ข้อมูลแบบเรียลไทม์เพื่อประยุกต์ใช้งานด้านเกษตรแม่นยำด้วยเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง. พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยนเรศวร
|
|
บอร์ด ESP8266. สืบค้นเมื่อ 8 ตุลาคม 2564, จากเว็บไซต์ https://dtecesp8266arduino.blogspot.com/
|
|
ปิยะพร สายแสง. (2559). ระบบอัจฉริยะควบคุมการใช้พลังงานในห้องประชุม. นครราชสีมา : สาขาวิชาวิศวกรรมการจัดการพลังงาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
|
|
พรชัย ลิ้วขอนแก่น.(2550). เครื่องกำจัดควันอัตโมมัติในร้านอาหารควบคุมด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
|
|
ศิวกร จินดารัตน์. (2557). ระบบจัดการฟาร์มไก่อัจฉริยะด้วยราสเบอรี่ไพและอาดุยโน่. กรุงเทพฯ :
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
|
|
อักษรา อักษรสิทธิ์. (2563). ความตั้งใจในการใช้อินเทอร์เน็ตในสรรพสิ่งเพื่อการเฝ้าสังเกตระยะไกล สำหรับการรักษาเชิงป้องกันเครื่องจักรในภาคอุตสาหกรรมการผลิต. วารสารระบบสารสนเทศด้านธุรกิจ. 6(1) : 69. Doi : 10.14456/jisb.2020.5
|
|
อานนท์ เนตรยอง และ ธิติมา นริศเนตร. (2562). ถังขยะอัจฉริยะ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|