ชื่อบทความ |
การจัดการกลไกงานวิจัยด้วย Awesome table คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
|
ชื่อบทความ(English) |
The Research Mechanism Management with Awesome Table Faculty of home Economic Technology Rajamangala University of Technology Krungthep
|
|
|
ประเภทบทความ |
บทความวิจัย
|
ชื่อผู้แต่ง |
อรรถพล จันทร์สมุด (Artaphon Chansamut)
|
หน่วยงาน |
สำนักงานคณบดี คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ (Dean office, Faculty of home Economic Technology Rajamangala university of Technology Krungthep)
|
ชื่อวารสาร |
วารสารแม่โจ้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2565
|
บทคัดย่อ |
วัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อศึกษาการจัดการกลไกงานวิจัยด้วย Awesome table
ของคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ และประเมินประสิทธิภาพของการพัฒนาระบบ กลุ่มตัวอย่างงานวิจัยประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด จำนวน 10 คน ประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญด้านระบบสารสนเทศ จำนวน 5 คน และผู้เชี่ยวชาญด้านงานวิจัย จำนวน 5 คน Awesome table ถูกออกแบบภายใต้ฐานข้อมูล Google sheets ครอบคลุม ปี ประเภทวิจัย กลุ่มวิจัย หัวเรื่อง วิจัย ประเภทงานวิจัย จำนวนเงิน งบประมาณ และข้อมูลอื่น ๆ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ยเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การประเมินผลทดสอบวิธี black box testing ผลการประเมินโดยรวมของการจัดการกลไกงานวิจัยด้วย Awesome table คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ภาพรวมผลการประเมินการจัดการกลไกงานวิจัยด้วย Awesome table คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพมีความเหมาะสมอยู่ในระดับดี ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.64 และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.67 ซึ่งหมายความว่า การจัดการกลไกงานวิจัยด้วย Awesome table คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ สามารถนำไปประยุกต์สนับสนุนการทำงานได้
|
คำสำคัญ |
การจัดการกลไกงานวิจัย, Awesome table, คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
|
ปี พ.ศ. |
2565
|
ปีที่ (Vol.) |
8
|
ฉบับที่ (No.) |
1
|
เดือนที่พิมพ์ |
มกราคม - มิถุนายน
|
เลขที่หน้า (Page) |
53-63
|
ISSN |
ISSN 2672-9008 (Online)
|
DOI |
10.14456/mitij.2022.4
|
ORCID_ID |
0000-0001-8820-3846
|
ไฟล์บทความ |
https://mitij.mju.ac.th/ARTICLE/R65004.pdf
|
| |
เอกสารอ้างอิง | |
|
ประคอง กรรณสูต. 2528. สถิติเพื่อการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์ (ฉบับปรับปรุงแก้ไข). กรุงเทพฯ:
ศูนย์หนังสือ ดร. ศรีสง่า. 340 หน้า.
|
|
อรรถพล จันทร์สมุด. (2559). ระบบสารสนเทศการจัดเก็บเอกการในสถาบันอุดมศึกษา :
กรณีศึกษา สำนักงานคณบดี คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช
มงคลกรุงเทพ.วารสารแม่โจ้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม ปีที่ 2 ฉบับที่ 2.
|
|
อรรถพล จันทร์สมุด. (2559). การพัฒนาโปรแกรมการบริหารพัสดุและครุภัณฑ์ กรณีศึกษา
สำนักงานคณบดีคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
กรุงเทพ.วารสารแม่โจ้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม ปีที่ 2 ฉบับที่ 2.
|
|
อรรถพล จันทร์สมุด. (2565). Google application เพื่อการจัดการแบบประเมินการคัดกรอง
ความเสี่ยงการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 : กรณีศึกษานักศึกษา คณะเทคโนโลยีคหกรรม
ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ.[สืบค้นเมื่อ 1 พฤษภาคม 2565] จาก
https://so05.tci- thaijo.org/index.php/RJSH/issue/view/17182.
|
|
Wang, C. Chakrabarti, K. He, Y.2016. Concept Expansion Using Web Tables.
Retrieved on April 10 2022 Retrieved from https://www.microsoft.com/en-
us/research/wp-content/uploads/2016/02/frp0991-wang.pdf.
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|