ชื่อบทความ |
ระบบบริหารบุคคลสำหรับสหกรณ์ออมทรัพย์
|
ชื่อบทความ(English) |
Personnel Management System for Savings Cooperative
|
|
|
ประเภทบทความ |
บทความวิจัย
|
ชื่อผู้แต่ง |
อลงกต กองมณี(1), ศิลาดล ประคองธนพันธุ์(1), สรสิช ไชยราษฎร์(1), สมนึก สินธุปวน(1*) และ ภานุวัฒน์ เมฆะ(1) (Alongkot Gongmanee(1), Siradol Prakhongtanaphan(1), Sorasit Chairat(1), Somnuek Sinthupoun(1*) and Panuwat Mekha(1))
|
หน่วยงาน |
สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้(1) (Department of Computer Science, Faculty of Science, Maejo University(1)) *Corresponding author: somnuk@mju.ac.th
|
ชื่อวารสาร |
วารสารแม่โจ้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2567
|
บทคัดย่อ |
ระบบบริหารบุคคลสหกรณ์ออมทรัพย์ เป็นการพัฒนาระบบเพื่อการจัดการบุคคลากรในสหกรณ์ออมทรัพย์ให้มีประสิทธิภาพ รวมถึงลดความซับซ้อนในการเก็บเอกสารต่างๆ ซึ่งการทำงานแบบเดิมมีการจัดเก็บในไฟล์ไมโครซอฟท์เอ็กเซล จึงลดประสิทธิภาพการสืบค้นเอกสารในกระบวนการจัดการบุคคลในสหกรณ์ออมทรัพย์ และขาดการเชื่อมโยงระหว่างระบบการจัดการบุคคลในสหกรณ์ออมทรัพย์กับระบบอื่นในสหกรณ์ ระบบบริหารบุคคลสหกรณ์ออมทรัพย์ที่ได้พัฒนาขึ้น โดยใช้ข้อมูลจากสหกรณ์ออมทรัพย์ จังหวัดสมุทรสงคราม เป็นกลุ่มตัวอย่าง โดยในงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาระบบบริหารบุคคลสหกรณ์ออมทรัพย์และทดสอบระบบบริหารบุคคลสหกรณ์ออมทรัพย์กับกลุ่มผู้ใช้ระบบจริงก่อนการจัดส่งระบบให้สหกรณ์ ซึ่งระบบประกอบด้วย 1) งานสวัสดิการ 2) งานด้านเงินเดือน /เงินโบนัสประจำปี และ 3) งานการบันทึกเวลาการเข้าออกงาน การพัฒนาระบบเว็บแอพพลิเคชันบริหารบุคคลสหกรณ์ออมทรัพย์ใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ (C#) โดยมีการจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบบนฐานข้อมูล (SQL Server) ผลการทดสอบระบบบริหารบุคคลสหกรณ์ออมทรัพย์กับกลุ่มผู้ใช้ระบบจริงตั้งแต่เดือน มิถุนายนถึงพฤศจิกายน พ.ศ.2565 พบว่า ระบบสามารถจัดการ 1) งานสวัสดิการ (ค่ารักษาพยาบาล ค่าเล่าเรียนบุตร และทำงานล่วงเวลา) 2) งานด้านเงินเดือน /เงินโบนัสประจำปี และ 3) งานการบันทึกเวลาการเข้า-ออกงาน (พนักงานมาสายและขาดงาน) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
|
คำสำคัญ |
ระบบบริหารบุคคล, ระบบสหกรณ์, ค่ารักษาพยาบาล, ค่าเล่าเรียนบุตร, ค่าล่วงเวลา
|
ปี พ.ศ. |
2570
|
ปีที่ (Vol.) |
10
|
ฉบับที่ (No.) |
2
|
เดือนที่พิมพ์ |
พฤษภาคม - สิงหาคม
|
เลขที่หน้า (Page) |
92-110
|
ISSN |
ISSN 3027-7280 (Online)
|
DOI |
10.14456/mitij.2024.14
|
ORCID_ID |
0000-0003-1461-1243
|
ไฟล์บทความ |
https://mitij.mju.ac.th/ARTICLE/R67026.pdf
|
| |
เอกสารอ้างอิง | |
|
กัญญาณี จงรักษ์ และ อัทราวดี ชูสกุล. (2566). ระบบบริหารงานบุคลากร: กรณีศึกษาโรงแรมอ่าว
นางคลิฟฟ์บีชรีสอร์ท. ค้นเมื่อ 12 เมษายน 2566. ค้นจาก http://cs.skru.ac.th/download/ formdownload/03_Reportf.
|
|
จุฑาทิพย์ ภัทราวาท วรเทพ ไวทยาวิโรจน์ และสุรจิตต์ แก้วชิงดวง. (2556). การจัดการสหกรณ์ออม
ทรัพย์ (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: บริษัท แดเน็กซ์ อินเตอร์คอร์ปอเรชั่น จำกัด.
|
|
จารุกิตติ์ สายสิงห์. (2563). การพัฒนาระบบจัดเก็บฐานข้อมูลบุคลากรทางการศึกษาแบบ 360 องศา.
วารสารวิชาการการจัดการเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 7(2): 59-71.
|
|
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์ และชัยวิชญ์ ม่วงหมี. (2565). การพัฒนาการให้บริการของสหกรณ์ออมทรัพย์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำกัด. วิทยาการจัดการวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ 3(2): 42-50.
|
|
ทรงยศ จันทร์อินทร์. (2550). ระบบสารสนเทศด้านบุคลากรสำหรับคณะพยาบาลศาสตร์แมคคอร์
มิค มหาวิทยาลัยพายัพ. (การค้นคว้าแบบอิสระ วท.ม.). มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
|
|
ธน บุญเกิด. (2565). การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันตก.
วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์ 9(10): 3-15.
|
|
นัยนา โปธาวงค์, พรศักดิ์ โพธิอุโมงค์, ประเสริฐ จรรยาสุภาพ, นันทพรรดิ์ นิตยพงศ์ชัย และ
พิมพ์ชนก สังข์แก้ว. (2563). แนวทางการพัฒนาการให้บริการของสหกรณ์ออมทรัพย์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จำกัด. วารสารวิชาการวิทยาลัยบริหารศาสตร์ 3(3): 19-32.
|
|
ประยูร เทพพิทักษฺศักดิ์. (2555). การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารสำนักงานอธิการบดี
มหาวิทยาลัยนครพนม. (วิทยานิพนธ์ ปร.ด.). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
|
|
พวงเพ็ชร จาบกุล และถวิล นิลใบ. (2562). ประสิทธิภาพการดำเนินงานของสหกรณ์ออมทรัพย์ภาค
ราชการในประเทศไทย.วารสารวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ 5(2): 197-208.
|
|
พระทวี อภโย และเอกชาตรี สุขเสน. (2560). การพัฒนาระบบสวัสดิการด้านบุคคลากร: กรณีศึกษา
มหาวิทยาลัย มหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน. วารสาร มจร สังคมศาสตร์บริทรรศน์
6(2): 427-436.
|
|
เพลินตา แดงอาจ. (2552). ระบบสารสนเทศงานบุคลากร วิทยาลัยการอาชีพเลิงนกทา. (การ
ค้นคว้าอิสระ วท.ม.). มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.
|
|
มณีรัตน์ บุญล้ำ. (2536). ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับการบริหารงานบุคคล คณะแพทยศาสตร์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
|
|
วีระพงษ์ เลิศลำหวาน วีระพน ภานุรักษ์ และ เดือนเพ็ญ ภานุรักษ์. (2559). การพัฒนาระบบอนุมัติ
เงินกู้สหกรณ์ออมทรัพย์ครูมหาสารคามโดยใช้เทคโนโลยีเว็บเซอร์วิส.วารสารโครงงานวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ 2(2): 1-8.
|
|
ศศิวรรณ ฉ่ำชาวนา และณัฐกานต์ พัฒนโพธิ์. (2561). ระบบการจัดการบุคลากรภายในองค์กร
กรณีศึกษาบริษัทเอาท์ซอร์สซิฟาย จำกัด. (โครงงานนักศึกษา). กรุงเทพฯ: คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม.
|
|
ศิริลักษณ์ นามวงศ และประเสริฐ จรรยาสุภาพ. (2561). พัฒนาการการสหกรณ์ในประเทศไทย.
วารสารอิเล็กทรอนิกส์การเรียนรู้ทางไกลเชิงนวัตกรรม 8(1): 29-55.
|
|
สุเมธ นามแก้ว. (2551). ระบบสารสนเทศเพื่อรองรับการปรับเปลี่ยนตำแหน่งข้าราชการ สังกัด
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ระดับจังหวัด ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551. (การค้นคว้าอิสระปริญญา วท.ม.). มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.
|
|
สุวรรณา เสือกรุง. (2547). การพัฒนาระบบฐานข้อมูลบุคลากร วิทยาลัยเทคนิคนครปฐม.
(วิทยานิพนธ์ วท.ม.). มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
|
|
อารีษา แก้วเปี้ย, สุรพล ชุ่มกลิ่น, และพิชิต พวงภาคีศิริ. (2559). การพัฒนาระบบฐานข้อมูลบุคลากร
ออนไลน์กรณีศึกษาเทศบาลตำบลบ้านด่านนาขาม อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์. รายงานการประชุมวิชาการราชภัฏนครสวรรค์ 1: (569-582). นครสวรรค์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
|
|
อำไพ สุดสม. (2551). การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการข้อมูลบุคลากร พยาบาล
จังหวัดน่าน ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต. (การค้นคว้าแบบอิสระ วท.ม.). มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|