ชื่อบทความ |
แผนอาชีพส่วนบุคคลบนไลน์ออฟฟิเชียลสำหรับผู้พิการทางสายตา
|
ชื่อบทความ(English) |
Individual career planning on the Line Official for visually impaired
|
|
|
ประเภทบทความ |
บทความวิจัย
|
ชื่อผู้แต่ง |
สมนึก สินธุปวน(1*), วีรชัย แก้วขอด(1), ชนิกานต์ สิงห์ไชย(1), อลงกต กองมณี(1) และ สนิท สิทธิ(1) (Somnuek Sinthupoun(1*), Veerachai Kaewkhort(1), Chanikarn Singchai(1), Alongkot Gongmanee(1) and Snit Sitti(1))
|
หน่วยงาน |
สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้(1) (Department of Computer Science, Faculty of Science, Maejo University(1)) *Corresponding author: somnuk@mju.ac.th
|
ชื่อวารสาร |
วารสารแม่โจ้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม ปีที่ 10 ฉบับที่ 4 (2567) : วารสารฉบับพิเศษ เนื่องจากในโอกาสครบรอบ 90 ปี การก่อตั้งมหาวิทยาลัยแม่โจ้
|
บทคัดย่อ |
การวางแผนอาชีพรายบุคคลสำหรับคนพิการทางสายตาที่พัฒนาขึ้นบนแพลตฟอร์มของไลน์ออฟฟิเซียล เพราะการฟังเสียงของผู้พิการทางสายตาจากการฟังการอ่านออกเสียงของข้อมูลผ่านฟอร์มบันทึกข้อมูลโดยตรงทำได้ยาก เพราะผู้พิการทางสายตาจะได้ฟังเสียงจะต้องทำการกดแทปทีละข้อมูลตั้งแต่ข้อมูลแรกจนถึงข้อมูลสุดท้ายบนแบบฟอร์มการกรอกข้อมูล และไม่สามารถสื่อสารกับกลุ่มหรือพี่เลี้ยงผู้ดูแลกลุ่มได้ ดังนั้นงานวิจัยจึงวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบการวางแผนอาชีพรายบุคคลบนไลน์ออฟฟิเซียลสำหรับผู้พิการทางสายตา ทำให้การอ่านออกเสียงข้อความในฟอร์มการกรอกข้อมูลสำหรับผู้พิการทางสายตาทำได้ง่ายขึ้น โดยผู้พิการสามารถฟังเสียงข้อมูลทั้งหมดในบนฟอร์มที่บันทึกข้อมูลในครั้งเดียวผ่านการแสดงผลข้อความบนไลน์ออฟฟิเซียล และเป็นการสื่อสารโดยตรงกับกลุ่มและพี่เลี้ยงผู้ดูแลกลุ่มได้ การวิจัยได้ดำเนินการกับกลุ่มตัวอย่างของผู้พิการ จำนวน 5 คน และพี่เลี้ยงผู้ดูแลกลุ่มจำนวน 1 ท่าน ผลการวิจัยพบว่า คนที่ 1 เหมาะสมกับการประกอบอาชีพพนักงานขาย ค่าเฉลี่ย 3.1 คนที่ 2 เหมาะสมกับการประกอบอาชีพคุณครู ค่าเฉลี่ย 3.8 คนที่ 3 เหมาะสมกับการประกอบอาชีพนักเขียนนิยาย ค่าเฉลี่ย 3.7 คนที่ 4 เหมาะสมกับการประกอบอาชีพช่างไม้ ค่าเฉลี่ย 4.6 และคนที่ 5 เหมาะสมกับการประกอบอาชีพเกษตร ค่าเฉลี่ย 3.6
|
คำสำคัญ |
คนพิการทางสายตา; ไลน์ออฟฟิเชียล; แผนอาชีพรายบุคคล; ทักษะ; คุณสมบัติ; การพัฒนาตนเอง; การประเมินตนเอง
|
ปี พ.ศ. |
2567
|
ปีที่ (Vol.) |
10
|
ฉบับที่ (No.) |
4
|
เดือนที่พิมพ์ |
กันยายน - ธันวาคม
|
เลขที่หน้า (Page) |
42-63
|
ISSN |
ISSN 3027-7280 (Online)
|
DOI |
|
ORCID_ID |
0000-0003-1461-1243
|
ไฟล์บทความ |
https://mitij.mju.ac.th/ARTICLE/R67043.pdf
|
| |
เอกสารอ้างอิง | |
|
จักรภพ ดุลศิริชัย. (2559). การประกอบอาชีพของคนพิการในประเทศไทย: กรณีศึกษาคนพิการทางการเห็น. (วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต.
|
|
จุฑาทิพย์ หาญกุดตุ้ม และสัญญา เคณาภูมิ. (2566). ทัศนะต่อคนพิการกับการสร้างความเท่าเทียมในสังคม. วารสารวิจัยทางสังคม 46(1):51-73.
|
|
ชลิตา ซื่อตรง. (2550). การเข้าถึงและการใช้ประโยชน์จากสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ตของผู้พิการ ทางสายตาในประเทศไทย. (วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
|
|
ณัฐวรรธน์ ศิริเตชภัทร์ และพิชญาภา ยืนยาว. (2563). อาชีวศึกษากับการสร้างอาชีพแรงงานคนพิการเพื่อเข้าสู่สถานประกอบการในยุค 5G. งานประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 12 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.
|
|
นุชสรา กันฟัก. (2562). การสื่อสารผ่านสื่อสังคมออนไลน์ของผู้พิการทางสายตา กรณีศึกษาโรงเรียนสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระบรมราชินูปถัมภ์ จังหวัดเชียงใหม่. (วิทยานิพนธ์ เสนอบัณฑิตวิทยาลัย). มหาวิทยาลัยนเรศวร.
|
|
เบญจพร บัวสําลี และสุภรธรรม มงคลสวัสดิ์. (2558). การพัฒนากิจการเพื่อสังคมของกลุ่มคนพิการ. การประชุมทางวิชาการด้านคนพิการระดับชาติ ครั้งที่ 7.
|
|
พรนภัส ชำนาญค้า. (2556). Line Official Account. ค้นเมื่อ 03 มีนาคม 2556 ค้นจากhttps://today.line.me/th/v2/article/38YxVo.
|
|
วุฒิชัย แพงจ่อย. (2553). แนวทางการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ. (ปริญญา รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
|
|
สานนท์ ด่านภักดี และจุฬาพร ศรีรังสรรค์. (2562). รูปแบบและแนวทางการส่งเสริมกลุ่มอาชีพคนพิการจังหวดัชัยภูมิ. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี 9(1):134-146.
|
|
สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ. (2550). พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนา คุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ.2550. กรุงเทพฯ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์.
|
|
สุรภา เกตุมาลา สุมลนิตย์ เกิดหนุนวงศ์ และวิภาวรรณ สุขสถิต. (2559). การพัฒนาโปรแกรมการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาอาชีพ ตามแนวคิด Two-Generation Approach ด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือ สำหรับประชาชนในชนบท. Journal of HR intelligence 11(2):58-80.
|
|
ไอลดา จิตจะกูล. (2553). การสื่อสารระบบอินเทอร์เน็ตของผู้พิการทางสายตา. (วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
|
|
อาภรณ์ ภู่วิทยพันธุ์. (2562). INDIVIDUAL CAREER PLANNING (ICP) การวางแผนเส้นทางความก้าวหน้าในสายอาชีพรายบุคคล (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาฯ.
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|