วารสารแม่โจ้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม 
Maejo Information Technology and Innovation Journal (MITIJ)
 ค้นหา | หน้าแรก   
 
 
 
» หน้าแรก
» ฉบับปัจจุบัน
» ฉบับย้อนหลัง
» ค้นหาวารสาร/บทความ
» ลงทะเบียน (OJS/PKP)
 

                               :: รายละเอียดบทความ ::
กลับสู่เมนูค้นหา 
ชื่อบทความ
การพัฒนาระบบการลงเวลางานและแจกแจงงาน สำหรับบุคลากร บริษัท อันดีไฟนด์ จำกัด
ชื่อบทความ(English)
The Development of Time Attendance and Task Distribution System for Personnel of Undefinded Co., Ltd
ประเภทบทความ
บทความวิจัย
ชื่อผู้แต่ง ณัฐพล มณีวรรณ์(1), นพดล หอมจันทร์(1), สันติภาพ มะโนวงค์(1), อรรถวิท ชังคมานนท์(1), ก่องกาญจน์ ดุลยไชย(1) และ พยุงศักดิ์ เกษมสำราญ(1*) (Natthaphol Maneewan(1), Noppadon Homjan(1), Santiphap Manowong(1), Attawit Changkamanon(1), Kongkarn Dullayachai(1) and Payungsak Kasemsumran(1*))
หน่วยงาน สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้(1) (Department of Computer Science, Faculty of Science, Maejo University(1)) *Corresponding author: payungsak.kae@gmail.com
ชื่อวารสาร วารสารแม่โจ้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม ปีที่ 10 ฉบับที่ 4 (2567) : วารสารฉบับพิเศษ เนื่องจากในโอกาสครบรอบ 90 ปี การก่อตั้งมหาวิทยาลัยแม่โจ้
บทคัดย่อ

         การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนาระบบการลงเวลางานและแจกแจงงานสำหรับบุคลากร บริษัทอันดีไฟนด์ จำกัด 2) เพื่อทดสอบระบบวิเคราะห์การลงเวลาและแจกแจงงานสำหรับบุคลากรและสามารถแสดงผลในรูปแบบรายงาน บริษัทอันดีไฟนด์ จำกัด โดยกระบวนการในการพัฒนาระบบโดยใช้วงจรการพัฒนาระบบแบบ SDLC (Software development life cycle) ซึ่งพัฒนาระบบอยู่ในรูปแบบเว็บแอปพลิเคชันโดยใช้ภาษา JavaScript มีการประเมินประสิทธิภาพระบบ โดยใช้ทดสอบระบบแบบแบล็กบอกส์ (Black Box Testing) และ ไวท์บอกส์ (White Box Testing) และให้ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ จำนวน 20 คน ประเมินในรูปแบบของ System Usability Scale (SUS) ในการประเมิน และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) ระบบที่พัฒนาขึ้นสามารถให้พนักงานสร้างและแจกแจงงานได้ทุกที่ทุกเวลา ผู้บริหารและผู้จัดการสามารถดูข้อมูลภาพรวมของโครงการได้ทันที และสามารถจัดการข้อมูลโครงการอย่างเป็นระบบ ทำให้การสืบค้นข้อมูลโครงการในอดีตและปัจจุบันสะดวก รวดเร็ว และตรงตามความต้องการของผู้ใช้งาน ผลการทดสอบระบบพบว่า ระบบสามารถวิเคราะห์การลงเวลาและแจกแจงงานได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ 2) ผลการประเมินความพึงพอใจต่อระบบมีคะแนนเฉลี่ยรวมในระดับดีที่ 7.92 จาก 10 คะแนน และในด้านความสะดวกในการใช้งานระบบมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 7.55 ซึ่งตรงตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ นอกจากนี้ ระบบยังช่วยให้ผู้บริหารสามารถนำข้อมูลของผู้ใช้งานมาวิเคราะห์และออกรายงานเพื่อประเมินค่าใช้จ่ายได้อย่างมีประสิทธิภาพ

คำสำคัญ ระบบการลงเวลา; การแจกแจงงาน; วงจรการพัฒนาระบบ
ปี พ.ศ. 2567
ปีที่ (Vol.) 10
ฉบับที่ (No.) 4
เดือนที่พิมพ์ กันยายน - ธันวาคม
เลขที่หน้า (Page) 100-124
ISSN ISSN 3027-7280 (Online)
DOI
ORCID_ID 0000-0002-1887-7287
ไฟล์บทความ https://mitij.mju.ac.th/ARTICLE/R67046.pdf
  
เอกสารอ้างอิง 
  กฤตยา ทองผาสุก, ทองพูล หับไธส่ง. (2010). “ระบบการลาและบันทึกเวลาปฏิบัติงานออนไลท์: กรณีศึกษา คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มจพ” เอกสารการประชุมทางวิชาการครั้งที่ 6 National Conference on Computing and Information Technology. มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
  ศุภลักษณ วันปน. (2018). การพัฒนาระบบสารสนเทศการบริหารโครงการคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วารสารวิชาการ ปขมท, 7(3), 30 – 43.
  อรรถพล จันทร์สมุด, นรินทร บุญพราหมณ์, (2009). "ระบบสารสนเทศการผลิตอ้อยในพื้นที่ จังหวัดบุรีรัมย์" การค้นคว้าอิสระปริญญา วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศการเกษตรและพัฒนาชนบท คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
  Chaisiwamongkol, W., & Laopibool, O. (2019). Prototype system of non-immigrant visa. Thai Science and Technology Journal, 21(1), 22-35. Doi: 10.14456/tstj.2021.3
  Christanto, H. J., & Singgalen, Y. A. (2023). Analysis and design of student guidance information system through software development lift cycle (SDLC) and waterfall model. Journal of information Systems and information, 5(1), 259- 270. doi: 10.51519/journalisi.v5i1.443
  Hongsibsong, P. (2022). Management information system for community enterprise of textile group in Nan Province, Journal of information and Learning, 33(2), 98-107. doi: 10.14456/jil.2023.24
  Jennifer K. Neill. (2000). Backdriving A fuil Motion simulator using flight recorder Data. Thesis, National Library of Canada = Biblioth?que nationale du Canada, 2000. Retrieved from http://www.collectionscanada.ca/obj/s4/f2/dsk1/tape3 /PQDD_0015/MQ53325.pdf.
  Lamak, S. (2023). The development of information system for supporting the administration of the Office of Academic Resources, Prince of Songkla University. Journal of international and Learning, 34(2), 108-121. doi: 0.14456/jil.2023.37
  Nattakorn S. (2022). Development and evaluation of a mobile application system to assist in reading drug labels for elderly people. Silpakorn University, 32(3) , 20. Retrieved from http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789 /4485/1/630820022.pdf
  Pariwat, T., & Chantaramongkul, P. (2022). The development of project course management system, case study: Department of Information Technology, Faculty of Engineer, Northeastern University.Neu Academic and Research Journal, 6(1), 41-47. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php /neuarj/article/view/256856
  Pattrawiwat, K.. t, Siripipattanakul, S., & Asavaroungpipop, N. (2020). Development of an Online Matching System (OMS) for Productive Ageing Labor Market. Dusit Thani College Journal, 14(2), 400–417. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/journaldtc/article/view/243446
  Phakamas, N., & Jiratta, P. (2019). The Development of Project Monitoring System at Faculty of Humanities and Social Sciences, Mahasarakham University, 6(1) , 3-45. Retrieved from https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/itm-journal/article /view/128695
  Phakamas, N., & Jiratta, P. (2019). The Development of Project Monitoring System at Faculty of Humanities and Social Sciences, Mahasarakham University, 6(1) , 3-45. Retrieved from https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/itm-journal/article /view/128695
  Wiloedsak, A. (2022). Development of an information system for storing and retrieving academic intellectual conttributions for the Faculty of Business Administration, Chiang Mai University. CUAST Journal, 7(3), 30-43. Retrieved from https://www.council-uast.com/journal/upload/fullpaper/06-01-2022- 433413026.pdf
  Zagon, B. (2013). Automated incremental integration test case generation form unit test case. Suranaree University of Technology. Retrieved from http://sutir.sut.ac.th:8080/jspui/bitstream/123456789/4979/2/Fulltext.pdf
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
กลับสู่ เมนูค้นหา
       
กองบรรณาธิการวารสารแม่โจ้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยแม่โจ้
63 หมู่ 4 ต.หนองหาร อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ 50290  mitij@mju.ac.th