ชื่อบทความ |
การพัฒนาเกมโรบล็อกซ์เพื่อนำเสนอแหล่งเรียนรู้คูเมืองเชียงใหม่
|
ชื่อบทความ(English) |
The Development of a Roblox Game for Present Learning Resources of Chiang Mai Moat
|
|
|
ประเภทบทความ |
บทความวิจัย
|
ชื่อผู้แต่ง |
พิมพ์ชนก สุวรรณศรี(1*) และ กัญญารัตน์ มุ่งหมาย(2) (Pimchanok Suwannasri(1*) and Kanyarat Maungmay(2))
|
หน่วยงาน |
ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่(1*) , นักศึกษา ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่(2) (Department of Computer, Faculty of Science and Technology, Chiang Mai Rajabhat University(1*), Bachelor's degree student, Chiang Mai Rajabhat University(2)) * Corresponding author: pimchanok_tham@cmru.ac.th
|
ชื่อวารสาร |
วารสารแม่โจ้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน 2568
|
บทคัดย่อ |
งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาและประเมินคุณภาพของเกมโรบล็อกซ์เพื่อนำเสนอแหล่งเรียนรู้คูเมืองเชียงใหม่ 2) ประเมินความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายที่มีต่อการใช้งานเกมโรบล็อกซ์เพื่อนำเสนอแหล่งเรียนรู้คูเมืองเชียงใหม่ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1–3 โรงเรียนบ้านเมืองกื้ด อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 68 คน ที่เข้าร่วมกิจกรรมถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ชุมชน ครู นักเรียนในพื้นที่ชุมชนกื้ดช้าง ณ โรงเรียนบ้านเมืองกื้ด เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) เกมโรบล็อกซ์เพื่อนำเสนอแหล่งเรียนรู้คูเมืองเชียงใหม่ 2) แบบประเมินคุณภาพ และ 3) แบบประเมินความพึงพอใจ ผลการวิจัย พบว่า 1) เกมโรบล็อกซ์เพื่อนำเสนอแหล่งเรียนรู้คูเมืองเชียงใหม่ เป็นการจำลองเมืองเชียงใหม่ในรูปแบบเสมือน 3 มิติ ที่มีการนำเสนอบริเวณโดยรอบของคูเมืองเชียงใหม่ ประกอบไปด้วย 5 ประตูเมือง 4 แจ่ง และ วัดภายในคูเมืองเชียงใหม่ โดยแต่ละแห่งนำเสนอเป็นโมเดลจำลองที่ผู้เล่นสามารถเดินสำรวจสถานที่ต่าง ๆ ได้คล้ายกับการเดินเที่ยวในสถานที่จริง และมีสื่อนำเสนอความรู้ประวัติความเป็นมาของแต่ละสถานที่ในรูปแบบกราฟิก รวมทั้งผู้เล่นสามารถทดสอบความรู้จากการทำแบบทดสอบ โดยเกมโรบล็อกซ์ได้ผ่านการประเมินคุณภาพโดยผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งมีผลการประเมินอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.70, S.D. = 0.33) และ 2) ผลการประเมินความพึงพอใจจากกลุ่มเป้าหมาย พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( = 4.48, S.D. = 0.59)
|
คำสำคัญ |
เกมโรบล็อกซ์; คูเมืองเชียงใหม่; แหล่งเรียนรู้
|
ปี พ.ศ. |
2568
|
ปีที่ (Vol.) |
11
|
ฉบับที่ (No.) |
1
|
เดือนที่พิมพ์ |
มกราคม - เมษายน
|
เลขที่หน้า (Page) |
158-173
|
ISSN |
ISSN 3027-7280 (Online)
|
DOI |
|
ORCID_ID |
0009-0001-8531-8207
|
ไฟล์บทความ |
https://mitij.mju.ac.th/ARTICLE/R68009A.pdf
|
| |
เอกสารอ้างอิง | |
|
เชียงใหม่นิวส์. (2564). ประตูเมืองเชียงใหม่ : ประวัติศาสตร์ ความเชื่อ และการท่องเที่ยว. https://www.chiangmainews.co.th/news/1607216/
|
|
เซบาสเตียน วิดาล. (2566). จะสร้างเกมบน Roblox ได้อย่างไร. https://tecnobits.com/th/วิธีสร้างเกมใน-roblox/
|
|
นันทพงค์ รัตนพรม, กัญญารัตน์ มุ่งหมาย และพิมพ์ชนก สุวรรณศรี. (2566). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนรายวิชาประวัติศาสตร์เพื่อเป็นสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ทางประวัติศาสตร์ด้วยเครื่องมือด้วย ROBLOX เรื่อง ประวัติความเป็นมาในตัวคูเมืองเชียงใหม่สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ “ราชภัฏกรุงเก่า” ครั้งที่ 6 (น. 165-178). 21-22 ธันวาคม, 2566. อยุธยา: มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.
|
|
บุญชม ศรีสะอาด. (2560). การวิจัยเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
|
|
พิมพิลา คงขาว และลัทธกาญจน์ กุยแก้ว. (2565). การพัฒนาแอปพลิเคชันด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริงในการนำชมแหล่งท่องเที่ยวปราสาทสระกำแพงใหญ่ อำเภออุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ. วารสารปาริชาต, 35(4), 116-131.
|
|
ยศินทร์ กิติจันทโรภาส. (2562). เกมเพื่อการเรียนรู้คืออะไร. นิตยสาร สสวท, 221, 14-23.
|
|
วชิระ พรหมวงศ์. (2567). สนุกกับการเรียน โดยใช้ Roblox เพื่อสร้างคอร์สเรียนออนไลน์สมบูรณ์แบบ. https://oet.stou.ac.th/roblox/
|
|
สุรเชษฐ์ มีฤทธิ์, จริยา วิชัยดิษฐ, รวยทรัพย์ เดชชัยศรี และ หทัยรัก ตุงคะเสน. (2566). การออกแบบเกมดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้. ครุศาสตร์สาร, 17(2), 17–31.
|
|
สุไรยา หมะจิ, จุฑารัตน์ คชรัตน์ และ เก็ตถวา บุญปราการ, (2563). สภาพและปัญหาการจัดการเรียนรู้รายวิชาวิชาประวัติศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเอกชนในสังกัดสำนักงานศึกษาธิการ อำเภอหัวไทร จังหวัด นครศรีธรรมราช. ใน การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 11 (น.639–650) 17 กรกฎาคม, 2563. สงขลา: มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.
|
|
Hamdi, L. F., Hantono, B. S., & Permanasari, A. E. (2022). Gamification Methods of Game-Based Learning Applications in Medical Competence: A Systematic Literature Review. 2022 International Symposium on Information Technology and Digital Innovation (ISITDI 2022), Padang, Indonesia, 2022, 50-54.
|
|
Han, J., Liu, G., & Gao, Y. (2023). Learners in the Metaverse: A Systematic Review on the Use of Roblox in Learning. Educ. Sci, 13(3), 1-23.
|
|
Meier, C., Saor?n, J., Le?n, A. B., & Cobos, A. G. (2020). Using the Roblox Video Game Engine for Creating Virtual tours and Learning about the Sculptural Heritage. iJET, 15(20), 268-280.
|
|
Mudassir, H. (2021). ‘Roblox’ isn’t just a gaming company. It’s also the future of education. https://www.fastcompany.com/90619108/roblox-future-of-education
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|