ชื่อบทความ |
การพัฒนาระบบ Flipbook PDF Viewer ของสำนักงานอัยการภาค 5
|
ชื่อบทความ(English) |
Development of Flipbook PDF Viewer System of Office of the Attorney General Region 5
|
|
|
ประเภทบทความ |
บทความวิจัย
|
ชื่อผู้แต่ง |
ปฐมพงศ์ สุทธิพงษ์ประชา(1*), วัยวัฒน์ จักรพันธุ์(2) และ ภาสกรณ์ บัววิจิตร์(2) (Pathompong Sutthipongpracha(1*), Waiyawat Jakraphan(2) and Pasakorn Boavijit(2))
|
หน่วยงาน |
สำนักงานอัยการภาค 5 สำนักงานอัยการสูงสุด(1), สมาคมประชาสามัคคี ไทย-สากล(2) (Office of the Attorney General Region 5, Office of the Attorney General(1), Thai-International Social Collective(2)) *Corresponding author: pathompong.s@ago.mail.go.th
|
ชื่อวารสาร |
วารสารแม่โจ้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2568
|
บทคัดย่อ |
สื่อการเรียนรู้แบบดิจิทัล Flipbook ถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้ประโยชน์จากเซลล์ประสาท (neurons) ที่รับรู้การเคลื่อนไหวในบริเวณการมองเห็นตรงกลางขมับ การเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้เมื่อเซลล์สมอง 2 เซลล์ ติดต่อสื่อสารกันโดยผ่านทางสายใยประสาท ส่งผ่านข้อมูลซึ่งกันและกัน ส่งผลต่อการพัฒนาการเรียนรู้ กลุ่มตัวอย่างการวิจัย ได้แก่ เจ้าหน้าที่ของสำนักงานอัยการภาค 5 และประชาชนทั่วไปที่เข้าใช้เว็บไซต์สำนักงานอัยการภาค 5 หมวดคลังความรู้เผยแพร่ โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบโควต้า (Quota Sampling) ได้ผลสรุปตามวัตถุประสงค์การวิจัย 1) การพัฒนาระบบ Flipbook PDF Viewer ของสำนักงานอัยการภาค 5 สามารถอ่านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) ที่เป็นเอกสารไฟล์ PDF ในรูปแบบพลิกหน้าเดี่ยวและหน้าคู่ ได้จากสมาร์ทโฟน แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์ และแล็ปท็อป 2) การศึกษาความแตกต่างของระดับความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมาย พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อการใช้งานระบบฯ แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ 3) การศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้งานต่อคุณสมบัติเฉพาะด้านประเภทการอ่านเอกสารไฟล์ PDF ของระบบฯ พบว่าเจ้าหน้าที่ของสำนักงานอัยการภาค 5 มีความพึงพอใจต่อการอ่านหน้าเดี่ยวแบบพลิกหน้ากระดาษที่ค่าเฉลี่ย 4.50±0.61 และการอ่านหน้าเดี่ยวแบบต่อเนื่องที่ค่าเฉลี่ย 4.50±0.70 สำหรับประชาชนทั่วไปมีความพึงพอใจต่อการอ่านหน้าเดี่ยวแบบต่อเนื่องที่ค่าเฉลี่ย 4.24±0.76
|
คำสำคัญ |
สื่อการเรียนรู้แบบดิจิทัล Flipbook; PDF Viewer; เครื่องมือแสดงผล; หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
|
ปี พ.ศ. |
2568
|
ปีที่ (Vol.) |
11
|
ฉบับที่ (No.) |
2
|
เดือนที่พิมพ์ |
พฤษภาคม - สิงหาคม
|
เลขที่หน้า (Page) |
131-155
|
ISSN |
ISSN 3027-7280 (Online)
|
DOI |
|
ORCID_ID |
0009-0007-3312-2839
|
ไฟล์บทความ |
https://mitij.mju.ac.th/ARTICLE/R68017.pdf
|
| |
เอกสารอ้างอิง | |
|
จุมพล ศรีอุดมสุวรรณ, สมชาย อารยพิทยา และ สนิท สิทธิ. (2562). การพัฒนาระบบฐานข้อมูลเกษตรอินทรีย์มหาวิทยาลัยแม่โจ้. วารสารแม่โจ้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยแม่โจ้, 5(1), 34–48. https://doi.org/10.14456/mitij.2019.4
|
|
เจษฎา สุขชาติ. (2559). การพัฒนาเว็บไซต์ที่รองรับการใช้งานบนทุกขนาดของหน้าจออุปกรณ์ สำหรับระบบบริหารยุทธศาสตร์. (วิทยานิพนธ์ ปริญญา วท.ม. (เทคโนโลยีสารสนเทศ)). มหาวิทยาลัยบูรพา.
|
|
ทศพร สร้างนานอก. (2559). เซลล์ประสาทกับการเรียนรู้. สาขาสมอง จิตใจและการเรียนรู้, มหาวิทยาลัยบูรพา. ค้นจาก http://suanchon.ac.th/km-skc/doc/Neuron-and-Learning.pdf
|
|
ปฐมพงศ์ สุทธิพงษ์ประชา. (2565). การพัฒนาสมุดลงนามถวายพระพรชัยมงคลอิเล็กทรอนิกส์ของสำนักงานอัยการภาค 5 ด้วยการประมวลผลแบบไร้เซิร์ฟเวอร์. วารสารแม่โจ้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยแม่โจ้, 8(2), 49–65. https://doi.org/10.14456/mitij.2022.9
|
|
ประสพชัย พสุนนท์. (2558). ความเที่ยงตรงของแบบสอบถาม. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 18.
|
|
ปัทมา นาแถมเงิน, ทัศน์ศิรินทร์ สว่างบุญ, กุลภัสสร ศิริพรรณ. (2560). การพัฒนาแบบวัดเชิงสถานการณ์เพื่อวัดความสามารถในการเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรค (AQ) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 36(5).
|
|
รณกฤต ผลแม่น และ มาลีรัตน์ ขจิตเนติธรรม. (2567). จากมาตรประมาณค่าของลิเคิร์ทสู่ การพัฒนามาตรประมาณค่าแนวใหม่. วารสารการวัด ประเมินผล สถิติ และการวิจัยทางสังคมศาสตร์, 5(1).
|
|
สมชาย วรกิจเกษมสกุล. (2553). ระเบียบวิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 2). อุดรธานี : อักษรศิลป์การพิมพ์.
|
|
Amazon Web Services (AWS) (2567). CORS คืออะไร?. ค้นเมื่อ 23 กันยายน 2567 ค้นจาก https://aws.amazon.com/th/what-is/cross-origin-resource-sharing/
|
|
A’yun, T. N., Titin, T., & Yeni, L. F. (2024). Pengembangan Flipbook Digital pada Materi Makanan dan Sistem Pencernaan Kelas VIII SMP/MTs.
Bioscientist, 12(1), 818. https://doi.org/10.33394/bioscientist.v12i1.11080
|
|
Document Processing (2567). PDF.js คืออะไร?. ค้นเมื่อ 23 กันยายน 2567 ค้นจาก https://products.documentprocessing.com/th/viewer/javascript/pdf.js/
|
|
Ellingson, Benjamin M., Victor A. Levin, & Timothy F. Cloughesy. (2022). Radiographic Response Assessment Strategies for Early-Phase Brain Trials in Complex Tumor Types and Drug Combinations: From Digital ‘Flipbooks’ to Control Systems Theory. Neurotherapeutics 19(6):1855–68. doi: 10.1007/s13311-022-01241-8.
|
|
Fatonah, S., & Yunianto, T. (2021). THE DEVELOPMENT OF PROFESSIONAL FLIP PDF BASED LEARNING MEDIA IN THEMATIC LEARNING AT THE THIRD GRADE STUDENTS OF ELEMENTARY SCHOOL. Lentera Pendidikan : Jurnal Ilmu Tarbiyah Dan Keguruan, 24(1), Article 1. https://doi.org/10.24252/lp.2021v24n1i15
|
|
Home PPT (2567). Turn.js ทำให้หนังสือพลิกออนไลน์กับ HTML5. ค้นเมื่อ 23 กันยายน 2567 ค้นจาก https://www.homeppt.com/th/articles/turn-js-make-online-flip-books-with-html5.html
|
|
Kurniawan, R., Zahrah, F., & Yuliati, I. (2023). Development of Madrasah E-Magazine through Online Fliphtml5 to Improve Writing and Reading Literacy. Maharot : Journal of Islamic Education, 7(1), Article 1. https://doi.org/10.28944/maharot.v7i1.1134
|
|
Likert, R. (1932). A Technique for The Measurement of Attitudes. Archives of Psychology, 22, 5-55.
|
|
Masyitha, D., Suyanta, S., Jumadi, J., & Maghfiroh, S. (2023). Development of Flipbook-Assisted Practical Guide on Measurement Physics Materials to Increase Junior High School Student Learning Motivation. Jurnal Penelitian Pendidikan IPA (JPPIPA), 9(1), 31–35. https://doi.org/10.29303/jppipa.v9i1.1732
|
|
Salzabila, P. A., & Fathurrahman, M. (2024). Development of Flipbook-Assisted Interactive Teaching Materials to Improve Learning Outcomes. Jurnal Penelitian Pendidikan IPA, 10(9), 6955–6961. https://doi.org/10.29303/jppipa.v10i9.8404
|
|
Syaputra, H. (2022). Pengembangan flipbook pada materi integral untuk peserta didik kelas xi sma. 11(2). https://doi.org/10.24036/pmat.v11i2.13296
|
|
Turn JS (2567). The page flip effect in HTML5. ค้นเมื่อ 23 กันยายน 2567 ค้นจาก http://www.turnjs.com/
|
|
WAU, R. J., LAOLI, B. ., LASE, A. ., & HAREFA, Y. (2024). PENGEMBANGAN E- MODUL BERBASIS FLIPPBOOK 3D UNTUK MENINGKATKAN HASIL BELAJARSISWA PADA MATA PELAJARAN IPS DI UPTD SMP NEGERI 1GUNUNGSITOLI. CENDEKIA: Jurnal Ilmu Pengetahuan , 4(4), 648-657. https://doi.org/10.51878/cendekia.v4i4.4009
|
|
Yabashiru, Fitri, Levi Musfiza, & Siti Nurhaliza. (2024). The Effectiveness of Using Flipbook Learning Media Improving Student Learning Outcomes in Elementary School: A Literature Review. Jurnal Perkembangan Ilmiah Multidisiplin, 1(1), Article 1.
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|