วารสารแม่โจ้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม 
Maejo Information Technology and Innovation Journal (MITIJ)
 ค้นหา | หน้าแรก   
 
 
 
» หน้าแรก
» ฉบับปัจจุบัน
» ฉบับย้อนหลัง
» ค้นหาวารสาร/บทความ
» ลงทะเบียน (OJS/PKP)
 

                               :: รายละเอียดบทความ ::
กลับสู่เมนูค้นหา 
ชื่อบทความ
การคาดการณ์พื้นที่น้ำท่วมบริเวณพื้นที่ลุ่มน้ำชุมชนเมืองจังหวัดเชียงใหม่ โดยใช้การสำรวจระยะไกลและการเรียนรู้การถดถอย
ชื่อบทความ(English)
Flood Area Prediction in Urban Watershed of Chiang Mai Province Using Remote Sensing and Regression Learning
ประเภทบทความ
บทความวิจัย
ชื่อผู้แต่ง เพชรรัช ปะระไทย(1), นฤพร เต็งไตรรัตน์(1*) และ Wai Lok Woo(2) (Phetcharat Parathai(1), Naruephorn Tengtrairat(1*) and Wai Lok Woo (2))
หน่วยงาน สาขาวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยพายัพ เชียงใหม่ ประเทศไทย(1), Department of Computer and Information Sciences, Northumbrai University, Newcastle Upon Tyne, United Kingdom(2) (School of Software Engineering, Faculty of Business Administration, Payap University, Chiang Mai, Thailand(1), 2Department of Computer and Information Sciences, Northumbrai University, Newcastle Upon Tyne, United Kingdom) *Corresponding author: naruephorn_t@payap.ac.th
ชื่อวารสาร วารสารแม่โจ้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2568
บทคัดย่อ

           ภาวะโลกร้อนปัจจุบันทำให้เกิดอุทกภัยรุนแรงและมีความถี่ในการเกิดสูงขึ้น หากสามารถแจ้งเตือนพื้นที่น้ำท่วมล่วงหน้าได้อย่างตรงจุด จะช่วยลดความเสียหายแก่ชีวิตและทรัพย์สินของประชาขนได้ งานวิจัยนี้นำเสนอ การสร้างแบบจำลองเพื่อคาดการณ์พื้นที่น้ำท่วมโดยใช้การสกัดข้อมูลจากภาพจากดาวเทียม บริเวณพื้นที่ชุมชนเมือง จ. เชียงใหม่ ครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด 902.025 ตารางเมตร ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการคาดการณ์พื้นที่น้ำท่วม ประกอบด้วย 6 ปัจจัย ได้แก่ สมดุลน้ำ การคายระเหยของน้ำ พื้นผิวปกคลุมดิน ปริมาณน้ำฝน NDVI และ พื้นที่น้ำท่วมจากภาพถ่ายดาวเทียม Sentinel ดาวเทียม MODIS และ ดาวเทียม Landsat ผ่าน Google Earth Engine  ภาพถ่ายดาวเทียมครอบคลุมพื้นที่กว้างและต่อเนื่อง ข้อมูลจากดาวเทียมเรดาร์ (SAR) สามารถใช้งานได้แม้ในสภาพอากาศที่มีเมฆมากหรือเวลากลางคืน ช่วยลดต้นทุนและเวลาในการสำรวจ สำหรับแบบจำลองได้ถูกสร้างโดยใช้วิธีทาง Regression จำนวน 7 วิธี ได้แก่ LR, SVR, Decision Tree, Random Forest, Gradient Boosting, XGBoost และ LightGBM เนื่องจากมีประสิทธิภาพสูงและคำนวณได้เร็วสามารถใช้กับชุดข้อมูลขนาดใหญ่ได้โดยไม่ต้องการพลังประมวลผลสูง จากการศึกษาพบว่า วิธี Random Forest สามารถคาดการณ์พื้นที่น้ำท่วมได้ถูกต้องสูงสุด มีค่า RMSE และ R-Square สูงกว่าวิธี XGBoost LightGBM  Decision Tree Gradient Boosting SVR และ LR คิดเป็นค่าเฉลี่ยร้อยละ 3 ร้อยละ 12 ร้อยละ 19 ร้อยละ 31 ร้อยละ 51 และ ร้อยละ 65 ตามลำดับ งานวิจัยนี้สามารถพัฒนาต่อยอดให้เกิดประโยชน์ โดยการนำแบบจำลองที่พัฒนาขึ้นไปประยุกต์ใช้เป็นระบบแจ้งเตือนภัยน้ำท่วมล่วงหน้าในระดับพื้นที่ โดยเฉพาะในเขตเมืองซึ่งมีความหนาแน่นของประชากรสูง ซึ่งจะช่วยเสริมประสิทธิภาพในการวางแผนรับมือและดำเนินการอพยพประชาชนของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้อย่างทันท่วงทีและเป็นระบบ

คำสำคัญ การสำรวจระยะไกล; การคาดการณ์น้ำท่วม; การถดถอย; การเรียนรู้ของเครื่อง; ภาพถ่ายดาวเทียม
ปี พ.ศ. 2568
ปีที่ (Vol.) 11
ฉบับที่ (No.) 2
เดือนที่พิมพ์ พฤษภาคม - สิงหาคม
เลขที่หน้า (Page) 188-210
ISSN ISSN 3027-7280 (Online)
DOI
ORCID_ID 0000-0002-4712-9923
ไฟล์บทความ https://mitij.mju.ac.th/ARTICLE/R68019D.pdf
  
เอกสารอ้างอิง 
  กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย. (2567). รายงานสถานการณ์สาธารณภัย. ค้นเมื่อ [14 เมษายน 2568], ค้นจาก https://backofficeminisite.disaster.go.th/apiv1/apps/minisite_directing/194/content/8728/download?filename=26c236095f0e9fc4a4e0af7edf6fa9f0.pdf
  กรุงเทพธุรกิจ. (2565, 4 ตุลาคม). อัปเดต "น้ำท่วมเชียงใหม่" ล่าสุด! เช็กจุดน้ำท่วมขัง-ปิดการจราจร. ค้นเมื่อ [16 เมษายน 2568], ค้นจาก https://www.bangkokbiznews.com/news/news-update/1030426
  ศูนย์วิชาการสนับสนุนการบริหารจัดการน้ำ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (2567). แผนที่เสี่ยงภัยน้ำท่วม (Flood Hazard Map). ค้นเมื่อ [16 เมษายน 2568], ค้นจาก https://watercenter.scmc.cmu.ac.th/cmflood/floodmap
  Chitwatkulsiri, D., & Miyamoto, H. (2023). Real-Time Urban Flood Forecasting Systems for Southeast Asia—A Review of Present Modelling and Its Future Prospects. Water, 15(1), 178. https://doi.org/10.3390/w15010178
  European Space Agency. (n.d.). Sentinel-2 Level-2A products. ค้นเมื่อ [19 พฤศจิกายน2567], ค้นจากhttps://www.esa.int/Applications/Observing_the_Earth/Copernicus/Sentinel-2
  Funk, C., Peterson, P., Landsfeld, M., Pedreros, D., Verdin, J., Shukla, S., ... & Husak, G. (2015). The climate hazards infrared precipitation with stations—a new
  Hakim DK, Gernowo R, and Nirwansyah AW (2024). Flood prediction with time series data mining: Systematic review. Natural Hazards Research, 4(2): 194-220. https://doi.org/10.1016/j.nhres.2023.10.001
  Islam, T., Zeleke, E. B., Afroz, M., & Melesse, A. M. (2025). A Systematic Review of Urban Flood Susceptibility Mapping: Remote Sensing, Machine Learning, and Other Modeling Approaches. Remote Sensing, 17(3), 524. https://doi.org/10.3390/rs17030524
  Lehner, B., Verdin, K., & Jarvis, A. (2008). HydroSHEDS. ค้นเมื่อ [19 พฤศจิกายน 2567], ค้นจาก https://www.hydrosheds.org/
  Manikandan, P., Vivek, S. T. S., Thejaswi, M., Tejaswini, B., Manoj, S., & Reddy, P. T. (2024). Flood Risk Assessment System using Logistic Regression. In 2024 8th International Conference on Electronics, Communication and Aerospace Technology (ICECA) (pp. 1145-1149). IEEE. https://doi.org/10.1109/ICECA63461.2024.10801008
  NASA. (n.d.). Moderate Resolution Imaging Spectroradiometer (MODIS). ค้นเมื่อ [19 พฤศจิกายน 2567], ค้นจาก https://lifehacker.ru/veb-sajt-nasa/
  Nhangumbe, M., Nascetti, A., & Ban, Y. (2023). Multi-Temporal Sentinel-1 SAR and Sentinel-2 MSI Data for Flood Mapping and Damage Assessment in Mozambique. ISPRS International Journal of Geo-Information, 12(2), 53. https://doi.org/10.3390/ijgi12020053
  Tengtrairat, N., Woo, W. L., Parathai, P., Sundaranaga, C., Na Ayutthaya, T. K., & Rinchumphu, D. (2022). Impact of extreme class-imbalance on landslide-risk prediction and mitigation using two-stage deep neural network. In 2022 14th International Conference on Signal Processing Systems (ICSPS) (pp. 712–719). IEEE. https://doi.org/10.1109/ICSPS58776.2022.00131
  Oki, T., & Kanae, S. (2006). Global hydrological cycles and world water resources. Science, 313(5790), 1068-1072.
  Pekel, J.-F., Cottam, A., Gorelick, N., & Belward, A. S. (2016). High-resolution mapping of global surface water and its long-term changes. Nature, 540(7633), 418–422. https://doi.org/10.1038/nature20584
  Pham, H. V., Brakenridge, G. R., Anderson, E., & Kettner, A. J. (2021). Satellite-based flood detection and monitoring using multi-temporal Sentinel-1 SAR imagery. Remote Sensing, 13(3), 453. https://doi.org/10.3390/rs13030453
  Sanderson, J., Tengtrairat, N., Woo, W. L., Mao, H., & Al-Nima, R. R. (2023). XFIMNet: an Explainable deep learning architecture for versatile flood inundation mapping with synthetic aperture radar and multi-spectral optical images. International Journal of Remote Sensing, 44(24), 7755–7789. https://doi.org/10.1080/01431161.2023.2288945
  Sanderson, J., Mao, H., Tengtrairat, N., Al-Nima, R. R. O., & Woo, W. L. (2024). Explainable deep semantic segmentation for flood inundation mapping with class activation mapping techniques. Proceedings of the 15th International Conference on Agents and Artificial Intelligence (ICAART) (Vol. 3, pp. 1028–1035).
  Singh, G., & Rawat, K. S. (2024). Mapping flooded areas utilizing Google Earth Engine and open SAR data: A comprehensive approach for disaster response. Discov Geosci, 2(5). https://doi.org/10.1007/s44288-024-00006-4
  UN-SPIDER. (n.d.). Step 10: Area calculation of flood extent. จาก [19 พฤษจิกายน 2567] https://www.un-spider.org/advisory-support/recommended-practices/recommended-practice-google-earth-engine-flood-mapping/step-by-step#Step%2010:%20Area%20calculation%20of%20flood%20extent
  Yang, X., Wang, N., Liang, Q., Chen, A., & Wu, Y. (2021). Impacts of Human Activities on the Variations in Terrestrial Water Storage of the Aral Sea Basin. Remote Sensing, 13(15), 2923. https://doi.org/10.3390/rs13152923.
 
 
 
 
 
 
กลับสู่ เมนูค้นหา
       
กองบรรณาธิการวารสารแม่โจ้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยแม่โจ้
63 หมู่ 4 ต.หนองหาร อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ 50290  mitij@mju.ac.th