|
|
ชื่อบทความ |
ระบบระบุตำแหน่งวัตถุท้องฟ้าอัตโนมัติบนรูปภาพโดยอาศัยวิศวกรรมมาตรดาราศาสตร์
|
ชื่อบทความ(English) |
Auto-marking of Celestial Target System based on Image-based Astrometry Engineering
|
|
|
ประเภทบทความ |
บทความวิจัย
|
ชื่อผู้แต่ง |
ชนันฌ์ณภัสฐ์ โฆษิตหิรัญตระกูล(1), รุ่งฤทธิ์ อนุตรวิรามกุล(3) , พยุงศักดิ์ เกษมสำราญ(1), ปวีณ เขื่อนแก้ว(1), สมชาย อารยพิทยา(2) และ ภานุวัฒน์ เมฆะ(1*) (Chanannaphat Kosithirantrakul(1), Rungrit Anutarawiramkul(3), Payungsak Kasemsumran(1), Paween Khoenkaw(1), Somchai Arayapitaya(2) and Panuwat Mekha(1*))
|
หน่วยงาน |
สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 50290 ประเทศไทย(1), 2กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 50290 ประเทศไทย(2), ห้องปฏิบัติการหอดูดาว สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) 50180 ประเทศไทย(3) (Department of Computer Science, Faculty of Science, Maejo University, 50290 Thailand(1), Technology Digital Division, Office of University, Maejo University, 50290 Thailand(2), Observatory Laboratory, National Astronomical Research Institute of Thailand (Public Organization), 50180, Thailand(3)) *Corresponding author: panuwat_m@mju.ac.th
|
ชื่อวารสาร |
วารสารแม่โจ้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2568
|
บทคัดย่อ |
การระบุตำแหน่งวัตถุท้องฟ้าเป็นกระบวนการที่ซับซ้อนและใช้เวลานาน โดยนักดาราศาสตร์ต้องเลือกวัตถุท้องฟ้าที่สนใจ เช่น ดาวเคราะห์น้อยหรือดาวหาง การคำนวณต้องการความแม่นยำสูง ต้องกำหนดเวลา, วัน, เดือน, ปีและหาองค์ประกอบของวงโคจร 6 ตำแหน่ง ได้แก่ ความเยื้องศูนย์กลาง ความเอียง ลองจิจูดของจุดโหนดขึ้น มุมของจุดใกล้ที่สุด ระยะกึ่งแกนเอก และมุมกวาดเฉลี่ย ข้อมูลทั้งหมดถูกนำมาคำนวณเป็นพิกัดเส้นไรท์แอสเซนชันและเดคลิเนชันเพื่อระบุตำแหน่งที่แน่นอนของวัตถุ จากนั้นบันทึกในไฟล์มาตรฐานไฟล์ฟิต นักดาราศาสตร์นำข้อมูลมารวมกันเพื่อสร้างข้อมูลต่อเนื่องและซ้อนชุดข้อมูลหลายชุดเพื่อสังเกตการเปลี่ยนแปลง กระบวนการนี้ใช้เวลานานเนื่องจากต้องคำนึงถึงปัจจัยต่างๆ มากมาย ดังนั้นจึงมีแนวคิดในการพัฒนาเว็บแอปพลิเคชันที่ใช้ระบบระบุตำแหน่งวัตถุท้องฟ้าอัตโนมัติ ช่วยให้ผู้ใช้สามารถระบุชื่อและพิกัดของวัตถุท้องฟ้าที่สนใจได้ เมื่ออัปโหลดไฟล์ฟิตระบบจะคำนวณและแสดงรูปภาพที่มีการวงกลมตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า พร้อมระบุรายละเอียดที่เกี่ยวข้อง ผู้ใช้สามารถดาวน์โหลดไฟล์ฟิตและรูปภาพเจเป็คเพื่อนำไปใช้งานต่อได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว ซึงระบบนี้มีประสิทธิภาพค่าความคลาดเคลื่อนต่ำกว่า 0.0001% เมื่อเปรียบเทียบกับฮอไรซันส์ของเจพีแอล ซึ่งเป็นหน่วยงานของนาซ่า
|
คำสำคัญ |
วัตถุท้องฟ้า; องค์ประกอบวงโคจร 6 ตำแหน่ง; ไฟล์ฟิต; ฮอไรซันส์
|
ปี พ.ศ. |
2568
|
ปีที่ (Vol.) |
11
|
ฉบับที่ (No.) |
2
|
เดือนที่พิมพ์ |
พฤษภาคม - สิงหาคม
|
เลขที่หน้า (Page) |
250-275
|
ISSN |
ISSN 3027-7280 (Online)
|
DOI |
|
ORCID_ID |
0009-0003-0971-3090
|
ไฟล์บทความ |
https://mitij.mju.ac.th/ARTICLE/R68019G.pdf
|
| |
เอกสารอ้างอิง | |
|
Bendjoya, P. R., Cellino, A., Froeschl?, C., & Zappal?, V. (1993). Asteroid dynamical
families: a reliability test for two identification methods. Astronomy and Astrophysics, 272, 651-670.
|
|
Brown, H. L., & Zhao, W. (2019). Web-based astronomy tools using Gaia DR3 data.
Journal of Astronomical Software Development, 7(4), 112-125.
|
|
Carruba, V., Aljbaae, S., & Lucchini, A. (2019). Machine-learning identification of asteroid
groups. Monthly Notices of the Royal Astronomical Society, 488(1), 1377-1386.
|
|
Domingos, R. C., Huaman, M., & Louren?o, M. V. F. (2025). Identification of asteroid
families' members. Machine Learning for Small Bodies in the Solar System, 33-57.
|
|
Jo, J. H., Park, I. K., Choe, N. M., & Choi, M. S. (2011). The Comparison of the Classical
Keplerian Orbit Elements, Non-Singular Orbital Elements (Equinoctial Elements), and the Cartesian State Variables in Lagrange Planetary Equations with J? Perturbation: Part I. Journal of Astronomy and Space Sciences, 28(1), 37-54.
|
|
Jones, M. R., & Patel, S. A. (2020). Deep learning applications in astronomical object
classification: A case study with SDSS data. Monthly Notices of the Royal Astronomical Society, 498(2), 567-580.
|
|
Kovalevsky, J., & Seidelmann, P. K. (2011). Fundamentals of astrometry. Cambridge
University Press.
|
|
Kruk, S., Mart?n, P. G., Popescu, M., Mer?n, B., Mahlke, M., Carry, B., ... & Laureijs, R. (2022).
Hubble Asteroid Hunter-I. Identifying asteroid trails in Hubble Space Telescope images. Astronomy & Astrophysics, 661, A85.
|
|
Mekha, P., & Osathanunkul, K. (2020, March). Web application for sick animals health
monitoring system. In 2020 Joint International Conference on Digital Arts, Media and Technology with ECTI Northern Section Conference on Electrical, Electronics, Computer and Telecommunications Engineering (ECTI DAMT & NCON) (pp. 123-127). IEEE.
|
|
Smith, J. D., & Lee, K. T. (2021). Astrometric calibration methods for high-precision
celestial object positioning. Astrophysical Journal, 892(1), 23-34.
|
|
Neuh?user, D. L., Neuh?user, R., Mugrauer, M., Harrak, A., & Chapman, J. (2021). Orbit
determination just from historical observations? Test case: The comet of AD 760 is identified as 1P/Halley. Icarus, 364, 114278.
|
|
Oesterwinter, C., & Cohen, C. J. (1972). New orbital elements for Moon and planets.
Celestial Mechanics, 5(3), 317-395.
|
|
Rhodes, B. C. (2011). PyEphem: astronomical ephemeris for Python. Astrophysics
SourceCode Library, ascl-1112.
|
|
Robitaille, T. P., Tollerud, E. J., Greenfield, P., Droettboom, M., Bray, E., Aldcroft, T., ... &
Streicher, O. (2013). Astropy: A community Python package for astronomy. Astronomy & Astrophysics, 558, A33.
|
|
Solontoi, M., Ivezi?, ?., West, A. A., Claire, M., Juri?, M., Becker, A., ... & Loomis, C. (2010).
Detecting active comets in the SDSS. Icarus, 205(2), 605-618.
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
กลับสู่ เมนูค้นหา
|
|
|