วารสารแม่โจ้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม 
Maejo Information Technology and Innovation Journal (MITIJ)
 ค้นหา | หน้าแรก   
 
 
 
» หน้าแรก
» ฉบับปัจจุบัน
» ฉบับย้อนหลัง
» ค้นหาวารสาร/บทความ
» ลงทะเบียน (OJS/PKP)
 

                               :: รายละเอียดบทความ ::
กลับสู่เมนูค้นหา 
ชื่อบทความ
แบบจำลองสารสนเทศห่วงโซ่อุปทานเพื่อการจัดการเเผนพัฒนาความเป็นเลิศสำหรับสถาบันอุดมศึกษาของไทย
ชื่อบทความ(English)
Supply Chain Information Model for Excellence Development Plan Management for Thai Higher Education Institutions
ประเภทบทความ
บทความวิจัย
ชื่อผู้แต่ง อรรถพล จันทร์สมุด* (Artaphon Chansamut)
หน่วยงาน สำนักงานคณบดี คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ (Dean office, Faculty of home Economic Technology Rajamangala university of Technology Krungthep) *Corresponding author: artaphon.c@mail.rmutk.ac.th
ชื่อวารสาร วารสารแม่โจ้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม 2568
บทคัดย่อ

           บทความวิจัยนี้ กล่าวถึง แบบจำลองสารสนเทศห่วงโซ่อุปทานเพื่อการจัดการเเผนพัฒนาความเป็นเลิศสำหรับสถาบันอุดมศึกษาของไทยสามารถจัดเก็บข้อมูลงานวิจัยบุคลากร ผลการประเมินตัวชี้วัดผล การดำเนินงาน ตัวชี้วัดศักยภาพขององค์กรของแต่ละกลุ่มในสถาบันอุดมศึกษาได้ จุดมุ่งหมายสูงสุดของการวิจัยเพื่อ 1) พัฒนาแบบจำลองสารสนเทศห่วงโซ่อุปทานเพื่อการจัดการเเผนพัฒนาความเป็นเลิศสำหรับสถาบันอุดมศึกษาของไทย 2) เพื่อประเมินแบบจำลองสารสนเทศห่วงโซ่อุปทานเพื่อการจัดการเเผนพัฒนาความเป็นเลิศสำหรับสถาบันอุดมศึกษาของไทย การดำเนินงานวิจัยแบ่งเป็น 6 ขั้นตอน ดังนี้ 1) ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2) ร่างแนวคิดการวิจัยของแบบจำลองเบื้องต้น 3) พัฒนาแบบจำลอง  4) จัดทำแบบสอบถามเพื่อประเมินความเหมาะสมของแบบจำลองและส่งให้ผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อขอความเห็นเกี่ยวกับแบบจำลอง  5) เสนอแบบจำลองให้กับผู้ทรงคุณวุฒิ 6) รวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ยเลขคณิตและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของแต่ละองค์ประกอบ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 16 คน ในสาขาโซ่อุปทาน และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง  วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ยเลขคณิตและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การประเมินผลแบบจำลองใช้วิธีทดสอบแบบแบล๊คบ็อก (Black Box Testing) ผลการวิจัย พบว่าแบบจำลองสารสนเทศห่วงโซ่อุปทานเพื่อการจัดการเเผนพัฒนาความเป็นเลิศสำหรับสถาบันอุดมศึกษาของไทย ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ ได้แก่ องค์ประกอบหลัก ผู้ส่งมอบ ผู้ให้บริการ มหาวิทยาลัย การกระจาย ลูกค้า ผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาโซ่อุปทาน และสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศยอมรับแบบจำลองสารสนเทศห่วงโซ่อุปทานเพื่อการจัดการเเผนพัฒนาความเป็นเลิศสำหรับสถาบันอุดมศึกษาของไทยมีความเหมาะสมระดับมาก ค่าเฉลี่ยเท่ากับ  3.71  ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.57 แสดงให้เห็นว่าแบบจำลองสารสนเทศห่วงโซ่อุปทานเพื่อการจัดการเเผนพัฒนาความเป็นเลิศสำหรับสถาบันอุดมศึกษาของไทย สามารถพัฒนาสารสนเทศได้

คำสำคัญ แบบจำลองสารสนเทศห่วงโซ่อุปทาน,การจัดการแผนพัฒนาความเป็นเลิศ; สถาบันอุดมศึกษาของไทย
ปี พ.ศ. 2568
ปีที่ (Vol.) 11
ฉบับที่ (No.) 3
เดือนที่พิมพ์ กันยายน - ธันวาคม
เลขที่หน้า (Page) 19-37
ISSN ISSN 3027-7280 (Online)
DOI
ORCID_ID 0000-0001-8820-3846
ไฟล์บทความ https://mitij.mju.ac.th/ARTICLE/R68021.pdf
  
เอกสารอ้างอิง 
  กองนโยบายและแผน มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี. (2564) แผนการพัฒนาความเป็นเลิศ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566-2570. ค้นเมื่อ15 เมษายน 2567.ค้นจาก https: plan.sru.ac.th/sru-excellence-development-plan/.
  กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม (2560) คู่มือการประเมินการกำหนดกลุ่ม สถาบันอุดมศึกษา (ฉบับปรับปรุง) . ค้นเมื่อ 15 เมษายน 2567. ค้นจาก https://op .chandra. ac.th/plan/images/pdf/sar%20University%20Strategic% 20(Repositioning)%20-%20Final%20Update-V. 8-Date-17-June-2021.pdf
  มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา..(2561) .การสำรวจความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการที่มีต่อ การบริการขององค์การบริหารส่วนจังหวัดระนองประจำปีงบประมาณ พ..ศ. 2561 ค้นเมื่อ 15 เมษายน 2567. ค้นจาก http://www.oic.go.th/FILEWEB/CABINFOCNTER13/DRAWER007 /GENERAL/DATA0000/00000286.PDF
  ประคอง กรรณสูต. (2528). สถิติเพื่อการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์ (ฉบับปรับปรุงแก้ไข). กรุงเทพฯ : ศูนย์หนังสือ ดร. ศรีสง่า.
  สุดาสวรรค์ งามมงคลวงศ์ และณมน จีรังสุวรรณ (2557).รูปแบบการบริหารงานวิจัยและ งานสร้างสรรค์ของสถาบันอุดมศึกษาไทยด้วยอิเล็กทรอนิกส์ซัพพลายเชน. วารสารปัญญาภิวัฒน์ 6(1) : 97-114.
  สุภัชฌาน์ ศรีเอี่ยม. (2552). การพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการ. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชียฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3(2) : 6-12.
  อรรถพล จันทร์สมุด (2559). ระบบสารสนเทศการบริหารห่วงโซ่อุปทานเพื่อการจัดการ งานวิจัยในสถาบันอุดมศึกษา.วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 36(2) : 210-221.
  อรรถพล จันทร์สมุด (2563).แบบจำลองระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการงานวิจัยในโซ่ อุปทานสำหรับสถาบันอุดมศึกษา.วารสารวิชาการ ปขมท. 9(2) : 113-121.
  อรรถพล จันทร์สมุด (2566). รูปแบบสารสนเทศเพื่อการจัดการงานก่อสร้างในโซ่ อุปทานสำหรับสถาบันอุดมศึกษา: กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล กรุงเทพกรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการสถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ 1 8(1): 131-139.
  อรรถพล จันทร์สมุด (2566). การพัฒนาแบบจำลองระบบโซ่อุปทานดิจิทัลเพื่อการจัด การศึกษาตามกรอบคุณวุฒิอาชีวศึกษาในประเทศไทย.วารสารวิชาการสถาบันการอาชีว- ศึกษาภาคใต้ 1. 8(2) : 41-48.
  อรรถพล จันทร์สมุด, ทัศนีย์ ลักขณาภิชนชัช.(2566). แบบจำลองการดำเนินงานดิจิทัลเพื่อ การจัดการกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาในห่วงโซ่อุปทานสำหรับสถาบันอุดมศึกษา ในประเทศไทย.วารสารวิจัยและนวัตกรรมการอาชีวศึกษา.7(2) : 90-97.
  Artaphon Chansamut, Pallop Piriyasurawong. (2014). Conceptual framework of SCM- IS for curriculum management based on Thailand Qualifications Framework for Higher Education. International Journal of Managing Value and Supply Chains (IJMVSC).5(4) : 33-45
  Artaphon Chansamut, Pallop Piriyasurawong. (2019). Supply Chain Management Information System for Curriculum Management Based on The National Qualifications Framework for Higher Education. Interattional Journal of Supply Chain and operations Management (IJSOM). 6(1) : 88-93
  Habib. M, (2009). An empirical Research of ITESECM: integrated tertiary educational supply chain management model. searched Retrieved on 27 May 2024. from http://www .academia.edu/MamunHabib.
  Habib. M., and Jungthirapanich. C, (2009). Research Framework of Education Supply Chain, Research Supply Chain and Educational Management for the Universities. Retrieved on 27 May 2024 From http://www.academia. edu/MamunHabib.
  Habib. M., and Jungthirapanich. C, ( 2010). An Empirical Study of Educational Supply Chain Management for the Universities. Retrieved on 27 May 2024. from http://www. academia. edu/MamunHabib.
  Habib. M., and Jungthirapanich. C, (2008). Integerated Education Supply Chain Management (IESCM) Model for the Universities. Retrieved on 15 April 2024. from http://www. academia. edu/MamunHabib.
  Michale, H. .(2006). Essentials of supply chain Management. Retrieved on 27 May 2024. from https://www.amazon.com/ Essentials-Supply-Chain- Management 2nd/dp/0471776343.
  Supply Chain Council,(2012). SCOR Model, Retrieved on 27 May 2024 from http://supply-chain.org/.
 
 
 
 
 
 
 
 
กลับสู่ เมนูค้นหา
       
กองบรรณาธิการวารสารแม่โจ้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยแม่โจ้
63 หมู่ 4 ต.หนองหาร อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ 50290  mitij@mju.ac.th