วารสารแม่โจ้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม 
Maejo Information Technology and Innovation Journal (MITIJ)
 ค้นหา | หน้าแรก   
 
 
 
» หน้าแรก
» ฉบับปัจจุบัน
» ฉบับย้อนหลัง
» ค้นหาวารสาร/บทความ
» ลงทะเบียน (OJS/PKP)
 

                               :: รายละเอียดบทความ ::
กลับสู่เมนูค้นหา 
ชื่อบทความ
ระบบควบคุมกึ่งอัตโนมัติสำหรับการผลิตมูลใส้เดือน
ชื่อบทความ(English)
Semi-Automatic Control System for Vermicompost Production
ประเภทบทความ
บทความวิจัย
ชื่อผู้แต่ง สุเทพ นระมาตย์(1*) และ จักรกฤช เหล่าสาย(2) (Suthep Naramart(1*) and Jakkrich Laosai(2))
หน่วยงาน สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์(1), สาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้า(2) คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี (Department of Electronics Technology(1), Department of Electrical Technology(2), Faculty of Industrial Technology, Ubon Ratchathani Rajabhat University) * Corresponding author: sutep.n@ubru.ac.th
ชื่อวารสาร วารสารแม่โจ้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม 2568
บทคัดย่อ

       บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนานวัตกรรมการควบคุมระบบเปิด-ปิดไฟอัตโนมัติผ่านระบบมือถือ  2) ระบบควบคุมการให้น้ำแบบกึ่งอัตโนมัติสำหรับการเพาะเลี้ยงไส้เดือนโดยใช้เซ็นเซอร์ความชื้นสัมพัทธ์ในดินและอุณหภูมิ  ผู้วิจัยได้ลงพื้นที่ชุมชนกลุ่มเกษตรกรโพธิยาลัย   จังหวัดอุบลราชธานี เพื่อศึกษาการพัฒนาระบบควบคุมกึ่งอัตโนมัติสำหรับการผลิตมูลใส้เดือนให้กับกลุ่ม   สหกิจชุมชน โครงการวิจัยนี้มุ่งเน้นการวิจัยเชิงคุณภาพ การวิจัยได้ทำการสั่งการควบคุมอุปกรณ์ภายในและภายนอก  โดยการสั่งเปิด-ปิด ระบบไฟฟ้าผ่านระบบสมาร์ทโฟน กล่องควบคุมสัญญาณไฟแสดงสถานนะการใช้งาน  แอปพลิเคชันและเครื่องควบคุม สามารถตรวจความชื้นสัมพัทธ์ในดิน และอุณหภูมิผ่านเซ็นเซอร์ ซึ่งประกอบด้วยเซ็นเซอร์วัดความชื้นสัมพัทธ์ในดินและเซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิแสดงผล และสามารถควบคุมความผิดปกติของค่าความชื้นสัมพัทธ์ในดินที่น้อยเกินกว่าเงื่อนไขที่กำหนด โดยระบบจะสั่งให้เติมน้ำลงไปในดินผ่านสมาร์ทโฟน หรือเครื่องคอมพิวเตอร์  ผ่านเครือข่ายไร้สาย เป็นต้น ผลการวิจัยการทำงานของกล่องระบบควบคุมกึ่งอัตโนมัติสำหรับการผลิตมูลใส้เดือนพบว่าอยู่ในระดับมาก  ( =4.522)  โดยระบบสามารถนำไปใช้เพื่อช่วยควบคุมการเปิด-ปิดไฟ  และเติมน้ำลงในดิน  เพื่อช่วยสนับสนุนการผลิตมูลใส้เดือนได้

คำสำคัญ ระบบควบคุม; ระบบควบคุมกึ่งอัตโนมัติ; ระบบควบคุมมูลไส้เดือน; การผลิตมูลใส้เดือน; มูลใส้เดือนดิน
ปี พ.ศ. 2568
ปีที่ (Vol.) 11
ฉบับที่ (No.) 3
เดือนที่พิมพ์ กันยายน - ธันวาคม
เลขที่หน้า (Page) 38-53
ISSN ISSN 3027-7280 (Online)
DOI
ORCID_ID 0009-0003-7191-4918
ไฟล์บทความ https://mitij.mju.ac.th/ARTICLE/R68022.pdf
  
เอกสารอ้างอิง 
  Ana Vukovic, Mirna Velki, Sandra Ecimovic, Rosemary Vukovi, Ivna Stolfa Camagajeva And Zdenko Lon Caric. (2021). Vermicomposting-Facts Benefits and Knowledge Gaps. Agronomy.
  Arunan Sivanathan, Hassan Habibi Gharakheili, Franco Loi, Adam Radford, Chamith Wijenayake, Arun Vishwanath, et al., (2018). Classifying IoT Devices in Smart Environments Using Network Traffic Characteristics. IEEE Transactions on Mobile Computing, pp. 1745-1759.
  Edwards C.A., Arancon N.Q. & Sherman R. (2011). Vermiculture technology: Earthworms, organic wastes and environmental management. The United States of America: Taylor and Francis Group.
  Elena de la Guia, Vicente Lopez Camacho, Luis Orozco Barbosa, Victor M. Brea Lujan, Victor M. R. Penichet and Maria Lozano Prez. (2016). Introducing IoT and Wearable Technologies into Task Based Language Learning for Young Children, IEEE Transactions on Learning Technologies, pp. 366-378.
  Klangkongsub S. & Sohsalam P. (2013). Vermicompost production by using tomato residue and yard waste. Journal of Medical and Bioengineering. 2, 270-273.
  Marco Bassoli, Valentina Bianchi, Ilaria De Munari and Paolo Ciampolini. An Internet- of-Things Approach for a Wi-Fi-Based AAL Monitoring System. (2017). IEEE Transactions on Instrumentation and Measurement, pp. 3200-3209.
  Pathma J. & Sakthivel N. (2012). Microbial diversity of vermicompost bacteria that exhibit useful agricultural traits and waste management potential. SpringerPlus. 26, 1-19.
  Sailila N., Bakar A.A., Mahmood N.Z., Siliva J.T., Abdullah N. & Jamaludin. (2010). Nutrient elements of different agricultural wastes from vermicomposting activity. Dynamic Soil, Dynamic Plant. 4, 155-158.
  Sinha, R.K., Agarwai, S., Chauhan, K. & Valani, D. (2010). The wonders of earthworms & its Vermicompost in farm production: Charles Darwin’s friends of farmers’ with potential to replace destructive chemical fertilizers from agriculture. Agricultural Sciences. 1, 76-94.
  Yasir M., Aslam Z., Kim S.W., Lee S.W., Jeon C.O. & Chung Y.R. (2009). Bacterial community composition and chitinase gene diversity of vermicompost with antifungal activity. Bioresour Technol. 100, 4396–4403.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
กลับสู่ เมนูค้นหา
       
กองบรรณาธิการวารสารแม่โจ้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยแม่โจ้
63 หมู่ 4 ต.หนองหาร อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ 50290  mitij@mju.ac.th