ชื่อบทความ |
การแจ้งเตือนเพื่อการต่อสัญญาการบำรุงรักษาซอฟต์แวร์โดยใช้การแจ้งเตือนหลายระยะ
|
ชื่อบทความ(English) |
Software Maintenance Contract Renewal Notifications using Multi-phase Reminders
|
|
|
ประเภทบทความ |
บทความวิจัย
|
ชื่อผู้แต่ง |
สุจิตรา ปานการะเกตุ(1), สุธิชานนท์ พูลการขาย(1), พาสน์ ปราโมกข์ชน(1), อลงกต กองมณี(1) และ สมนึก สินธุปวน(1*) (Sujittra Pankaragat(1), Suthichanon Poonkrankay(1), Part Pramokchon(1), Alongkot Gongmanee(1) and Somnuek Sinthupuan(1*)) *Corresponding author: somnuk@mju.ac.th
|
หน่วยงาน |
สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้(1) (Computer Science Department, Faculty of Science, Maejo University(1)) *Corresponding author: somnuk@mju.ac.th
|
ชื่อวารสาร |
วารสารแม่โจ้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม 2568
|
บทคัดย่อ |
งานวิจัยมีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาระบบการจัดการข้อมูลสัญญาบำรุงรักษา และการแจ้งเตือนลูกค้าก่อนวันหมดอายุสัญญาล่วงหน้า ที่สามารถรวบรวมและจัดเก็บข้อมูลทั้งหมดในระบบกลาง ทำให้สามารถดำเนินการต่ออายุสัญญาลูกค้าได้ทันเวลาโดยใช้การแจ้งเตือนหลายระยะ ผลการวิจัยพบว่า การแจ้งเตือนทั้งสามระยะ (เตือนครั้งที่ 1 ภายใน 30 วัน, ครั้งที่ 2 ภายใน 15 วัน, และครั้งที่ 3 ภายใน 7 วัน) มีสัญญาครบกำหนดรวม 33 สัญญา และต่อสัญญาสำเร็จ 13 สัญญา คิดเป็นอัตราความสำเร็จเฉลี่ย 39.39% การเตือนครั้งที่ 1 ต่อสัญญาได้ 7 จาก 17 สัญญา (41.18%) ครั้งที่ 2 ต่อสัญญา 4 จาก 10 สัญญา (40%) และครั้งที่ 3 ต่อสัญญา 2 จาก 6 สัญญา (33.33%) ทำให้ความสำเร็จสะสมสูงสุด 76.47% บริษัท 1 มีประสิทธิภาพสูงสุด (100%) ต่อสัญญาครบทั้ง 3 สัญญา รองลงมาคือบริษัท 4 (66.67%) ส่วนบริษัท 3 ต่ำสุด (22.22%) บริษัท 2 และ 5 มีอัตราความสำเร็จปานกลาง (33.33%) การแจ้งเตือนหลายรอบช่วยเพิ่มโอกาสต่อสัญญา แต่สัญญา 23.53% ยังไม่ต่อ อาจต้องวิเคราะห์เงื่อนไขสัญญาหรือการตอบสนองของลูกค้าเพื่อปรับปรุงกลยุทธ์ต่อไป
|
คำสำคัญ |
การบำรุงรักษา; การแจ้งเตือน; การสัญญาใหม่; การจัดการคำถามและปัญหา
|
ปี พ.ศ. |
2568
|
ปีที่ (Vol.) |
11
|
ฉบับที่ (No.) |
3
|
เดือนที่พิมพ์ |
กันยายน - ธันวาคม
|
เลขที่หน้า (Page) |
218-237
|
ISSN |
ISSN 3027-7280 (Online)
|
DOI |
|
ORCID_ID |
0000-0003-1461-1243
|
ไฟล์บทความ |
https://mitij.mju.ac.th/ARTICLE/R68031.pdf
|
| |
เอกสารอ้างอิง | |
|
ณหทัยวรรณ วิโสภา, สูติเทพ ศิริพิพัฒนกุล, และ ณัฐพล รำไพ. (2564). การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
เพื่อการจัดการพัสดุภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.วารสารเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มทร.พระนคร, 6(2), 63–74.
|
|
สมนึก สินธุปวน, ชวัลวิทย์ เลาหาง, ณัฐชยา เตปันวงศ์, พุฒิพงศ์ พนมไพร, ก่องกาญจน์ ดุลยไชย,
และอรรถวิท ชังคมานนท์. (2568). ระบบรายงานปัญหาการใช้งานโปรแกรมของลูกค้าและการแจ้งเตือนผ่านไลน์. วารสารแม่โจ้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม, 11(1), 83–100.
|
|
อรรถพล จันทร์สมุด. (2563). ระบบโซ่อุปทานแบบดิจิทัลเพื่อการจัดการโครงการใน
สถาบันอุดมศึกษา. วารสารแม่โจ้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม, 6(1), 1–9.
|
|
Ahmed, S., Torres, M., & Choi, E. (2022). Soft computing techniques for software
maintainability prediction: A hybrid approach. IEEE Transactions on Software Engineering, 48(3), 1023-1045.
|
|
Brown, T., Nguyen, H., & Alvarez, L. (2023). Integrated software maintenance framework for agile environments. Journal of Systems and Software, 195, 111501.
|
|
Chen, X., Rahman, M., & Silva, P. (2024). Quality control in outsourced software
maintenance: An empirical study. Information and Software Technology, 158, 107203.
|
|
Fern?ndez, D., Kim, H., & Singh, V. (2024). Hot patching techniques for zero-
downtime software maintenance. IEEE Access, 12, 12345-12360.
|
|
Kumar, A., Sharma, R., & Lee, J. (2024). Agile practices for cloud-based software
maintenance: A systematic review. Journal of Cloud Computing, 13(1), 1-22.
|
|
Lim, C., Fern?ndez, J., & Wang, Q. (2023). Cost-benefit prioritization model for SME
software maintenance. Software: Practice and Experience, 53(8), 1450-1468.
|
|
Rossi, F., Nakamura, K., & Wright, D. (2024). Cost optimization model for software
maintenance budgeting. Journal of Software Maintenance and Evolution, 36(2), e2478.
|
|
Saito, Y., Gupta, S., & Al-Mutairi, N. (2024). Reliability-centered maintenance for IoT
software systems. Future Generation Computer Systems, 151, 345-360.
|
|
Wang, L., Zhang, Y., & Patel, M. (2024). Maintenance overhead of GitHub Actions
workflows: An empirical study. Empirical Software Engineering, 29(1), 1-30.
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|