ชื่อบทความ |
ขั้นตอนวิธีรู้จำระดับเสียงดนตรีไทยเดิมด้วยวิธีการถดถอยพหุนาม
|
ชื่อบทความ(English) |
The Thai Classical Music Pitch Recognition Algorithm Based on The Polynomial regression Method
|
|
|
ประเภทบทความ |
บทความวิจัย
|
ชื่อผู้แต่ง |
ธีราวุฒิ หงษ์ฟ้อน(1), พาสน์ ปราโมกข์ชน(1), กิตติกร หาญตระกูล(1) และ ปวีณ เขื่อนแก้ว(1*)
|
หน่วยงาน |
สาขาวิชานวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัล คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้(1) (Department of Digital Technology Innovation, Faculty of Science, Maejo University (1)) *Corresponding author: paween_k@mju.ac.th
|
ชื่อวารสาร |
วารสารแม่โจ้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม 2568
|
บทคัดย่อ |
ดนตรีไทยเดิมมีมาตรฐานของความถี่เสียงและช่วงความถี่ที่แตกต่างจากดนตรีสากล ซึ่งหากนำขั้นตอนวิธีระบุตัวโน้ตแบบตะวันตกมาใช้กับดนตรีไทยเดิมจะส่งผลให้การระบุตัวโน้ตเพื่อใช้สำหรับสร้างลายเซ็นต์สำหรับการค้นคืนหรือเปรียบเทียบความคล้ายของเพลงไม่แม่นยำ ความถี่ตัวโน้ตของดนตรีไทยเดิมก็มีหลายมาตรฐานแตกต่างกัน งานวิจัยนี้ได้นำเสนอขั้นตอนวิธีการระบุตัวโน้ตดนตรีไทยเดิมโดยใช้วิธีใหม่บนพื้นฐานของการถดถอย จากชุดข้อมูลที่ผู้วิจัยได้รวบรวมมาจากตำราและบทเพลงจากหลายแหล่งจึงได้สมการที่ใช้ระบุความที่เสียงของโน้ตดนตรีไทยเดิม จากนั้นจึงนำสมการนี้ไปสร้างตารางความถี่ตัวโน้ตขึ้นมาใหม่โดยอ้างอิงลำดับตัวโน้ตของเปียโน ขั้นตอนวิธีการสร้างลายเซ็นสำหรับสืบค้นเริ่มจากการแยกข้อมูลเสียงดนตรีออกเป็นส่วนย่อย จากนั้นจึงนำข้อมูลส่วนย่อยนี้ไปแปลงเป็นความถี่ด้วยวิธีแปลงฟูริเยร์แบบเร็ว จากนั้นจึงนำข้อมูลความถี่เสียง 1 sideband มาหาจุดสูงสุด และนำความถี่สูงสุดนั้นไปเทียบจากตารางความถี่ที่นำเสนอ จะได้เป็นตัวโน้ต จึงนำข้อมูลนี้มาร้อยต่อกันเป็นสายอักขระเพื่อใช้เป็นลายเซ็นต์ของเพลง จากการทดลองสร้างระบบค้นคืนเพลง โดยเปรียบเทียบระบบที่นำเสนอกับวิธีการของดนตรีสากลพบว่าระบบที่นำเสนอมีประสิทธิภาพร้อยละ 72.53
|
คำสำคัญ |
ดนตรีไทยเดิม; แปลงฟูริเยร์แบบเร็ว; การถดถอย
|
ปี พ.ศ. |
2568
|
ปีที่ (Vol.) |
11
|
ฉบับที่ (No.) |
3
|
เดือนที่พิมพ์ |
กันยายน - ธันวาคม
|
เลขที่หน้า (Page) |
167-182
|
ISSN |
ISSN 3027-7280 (Online)
|
DOI |
|
ORCID_ID |
0000-0002-4687-2256
|
ไฟล์บทความ |
https://mitij.mju.ac.th/ARTICLE/R68028.pdf
|
| |
เอกสารอ้างอิง | |
|
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2542). การศึกษาค้นคว้าวิจัยเรื่อง ความถี่ของเสียงดนตรีไทย โดยพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เรือนแก้วการพิมพ์.
|
|
ณัชชา พันธุ์เจริญ. (2556). ทฤษฎีดนตรี(พิมพ์ครั้งที่ 12). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์เกศกะรัต.
|
|
ธนะรัชต์ อนุกูล. 2563. ระบบเสียงดนตรีไทยกับการขับร้องเพลงไทยเดิม. วารสารทีทัศน์วัฒนธรรม.19(1). 195-214.
|
|
สงบศึก ธรรมวิหาร. (2567). ดุริยางค์ไทย(พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
|
|
สราวุฒิ สุจิตจร. (2546). การวิเคราะห์เสียงดนตรีไทย. นครราชสีมา : โรงพิมพ์เลิศศิลป์ (1994).
|
|
สุกรี เจริญสุข. (2546). เสียงและระบบดนตรีไทย. กรุงเทพฯ : วิทยาลัยดุริยางศิลป์มหาวิทยาลัยมหิดล.
|
|
อุทิศ นาคสวัสดิ์. (2531). ทฤษฎีและปฏิบัติดนตรีไทย ภาค ๑ ว่าด้วยหลักและทฤษฎีดนตรีไทย. กรุงเทพฯ : สถาบันฝึกดนตรีและนาฏศิลป์ไทย.
|
|
Asif Ghias, Jonathan Logan, David Chamberlin & Brian C Smith. (1995). Query by humming: Musical information retrieval in an audio database. In Proceedings of the third ACM international conference on Multimedia. pp.231–236.
|
|
Boonmatham, Pheerasut & Pongpinigpinyo, Sunee & Soonklang, Tasanawan. (2013). Musical-scale characteristics for Thai Classical Music genre classification. 2013 International Computer Science and Engineering Conference, ICSEC 2013. pp 227-232. 10.1109/ICSEC.2013.6694784.
|
|
Boonmatham, Pheerasut & Pongpinigpinyo, S. & Soonklang, Tasanawan. (2012). A comparison of audio features of Thai Classical Music Instrument. pp 213-218.
|
|
International Organization for Standardization. (1975). ISO 16:1975 Acoustics — Standard tuning frequency (Standard musical pitch). Switzerland.
|
|
Uitdenbogerd, Alexandra & Zobel, Justin. (1999). Matching Techniques for Large Music Databases. ACM MULTIMEDIA '99: Proceedings of the seventh ACM international conference on Multimedia (Part 1). 1(978-1-58113-151-2): 57-66.
|
|
P. Khoenkaw & P. Piamsa-nga. (2014). Video Similarity Measurement Using Spectrogram, in Proceeding of 2014 International Computer Science and Engineering Conference (ICSEC 2014), pp 412-417, 2014, Khon Kaen, THAILAND. DOI:10.1109/ICSEC.2014.6978241.
|
|
P. Khoenkaw & P. Piamsa-nga. (2014). N-Gram Signature for Video Copy Detection. in Recent Advances in Information and Communication Technology. vol. 265,
S. Boonkrong, H. Unger, and P. Meesad, Eds., ed: Springer International Publishing, 2014, pp. 335-344. DOI: 10.1007/978-3-319-06538-0_33
|
|
Phra Chen Duriyanga. (2015). THAI MUSIC (Thai Culture, New Series No.15) (7th ed.). Bangkok : Rung Silp Printing Company Limited.
|
|
Rumsey, F., and McC.rmick, T. (2006). Sound & recording: An introduction. Boston : Elsevier/Focal Press.
|
|
Shah, Ayush & Kattel, Manasi & Nepal, Araju & Shrestha, D.. (2019). Chroma Feature Extraction.
|
|
Tyler Connaghan. (2023). Pentatonic Scale: The Ultimate Beginner's Guide. Available from: https://emastered.com/blog/pentatonic-scale. [22 March 2024]
|
|
W. -j. Liu and J. -l. Feng. (2011). Qualitative mapping model of humming melody extraction. Proceedings of 2011 International Conference on Computer Science and Network Technology, Harbin, China, 2011, pp. 1650-1653. doi: 10.1109/ICCSNT.2011.6182283.
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|