ชื่อบทความ |
การพัฒนาระบบสารสนเทศการลาแบบรายชั่วโมงสำหรับบริษัทที่มีพนักงานจำนวนจำกัด
|
ชื่อบทความ(English) |
The Development of an Hourly Leave Information System for a Company with a Limited Number of Employees
|
|
|
ประเภทบทความ |
บทความวิจัย
|
ชื่อผู้แต่ง |
เศรษฐพงศ์ อินทร์แสง(1), รัฐติกรณ์ จินะกาศ(1), พาสน์ ปราโมกข์ชน(1), อลงกต กองมณี(1) และ สมนึก สินธุปวน1* (Sujittra Pankaragat(1), Suthichanon Poonkrankay(1), Part Pramokchon(1), Alongkot Gongmanee(1), and Somnuek Sinthupuan(1*))
|
หน่วยงาน |
สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้เชียงใหม่ 50290 ประเทศไทย (1) (Computer Science Department, Faculty of Science, Maejo University(1)) *Corresponding author: somnuk@mju.ac.th
|
ชื่อวารสาร |
วารสารแม่โจ้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม 2568
|
บทคัดย่อ |
วัตถุประสงค์ของงานวิจัยเพื่อ 1) พัฒนาระบบการลาแบบรายชั่วโมงสำหรับบริษัทที่มีพนักงานจำนวนจำกัด 2) เปรียบเทียบผลการลาแบบเต็มวันและแบบรายชั่วโมง และ 3) เพิ่มประสิทธิภาพการทำโครงการ ซึ่งระบบถูกพัฒนาขึ้นโดยใช้ Visual Studio Code สำหรับการพัฒนาโปรแกรมและ Firebase สำหรับการจัดการฐานข้อมูล โดยรวมถึงฟังก์ชันสำคัญ ได้แก่ การส่งคำขอลาแบบรายชั่วโมง กระบวนการอนุมัติการลาแบบรายชั่วโมงของผู้จัดการ และการติดตามสถานะการลาแบบเรียลไทม์ กลุ่มตัวอย่างบริษัทเลือกแบบเฉพาะเจอะจงเป็นพนักงานประจำ จำนวน 12 คน ที่เกี่ยวข้องกับ 6 โครงการหลัก (รวม 50 คน โดยพนักงาน 1 คนอยู่ได้หลายโครงการ) งานพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศโดยตรง ผลการวิจัยพบว่า 1) การพัฒนาระบบการลาแบบรายชั่วโมงที่พัฒนาขึ้น พบว่าสามารถลดอัตราการขาดงานจากเดิม 34% (17 คนจาก 50 คน) เหลือเพียง 12.75% (เทียบเท่าการขาดงาน 6.375 วันทำงาน) และช่วยรักษาความยืดหยุ่นให้กับพนักงานขณะเดียวกันก็เพิ่มความพร้อมของกำลังงาน 2) การเปรียบเทียบผลการลาแบบเต็มวันและแบบรายชั่วโมง พบว่าการลารายชั่วโมงลดการสูญเสียผลิตภาพลง 62.5% เมื่อเทียบกับระบบลาเต็มวัน โครงการที่ 4 ที่มีอัตราการขาดงาน 100% ภายใต้ระบบเดิม ได้รับประโยชน์อย่างชัดเจนจากระบบใหม่ แต่อย่างไรก็ตาม โครงการที่ 2 ยังคงมีอัตราการขาดงาน 31.25% แสดงให้เห็นว่ายังมีพื้นที่ที่ต้องปรับปรุง 3) การเพิ่มประสิทธิภาพการทำโครงการ พบว่าระบบช่วยลดช่องว่างกำลังคนในทีมที่มีอัตราการลาสูง (โครงการที่ 1, 2 และ 4) ผ่านการกระจายการลาอย่างสมดุล ฟังก์ชันติดตามแบบเรียลไทม์ช่วยจัดการ workflow ได้อย่างมีประสิทธิภาพในช่วงความต้องการสูง ระบุจุดที่ต้องเฝ้าระวังเป็นพิเศษ เช่น เดือนมิถุนายน ที่มีความเสี่ยงจากชั่วโมงการลาสะสม และโครงการที่ 2 และ 5 ที่ยังมีอัตราการขาดงานเกิน 30%
|
คำสำคัญ |
การลาแบบรายชั่วโมง; การลาแบบเต็มวัน; พนักงานจำกัด; ระบบสารสนเทศ
|
ปี พ.ศ. |
2568
|
ปีที่ (Vol.) |
11
|
ฉบับที่ (No.) |
3
|
เดือนที่พิมพ์ |
กันยายน - ธันวาคม
|
เลขที่หน้า (Page) |
238-257
|
ISSN |
ISSN 3027-7280 (Online)
|
DOI |
|
ORCID_ID |
0000-0003-1461-1243
|
ไฟล์บทความ |
https://mitij.mju.ac.th/ARTICLE/R68032.pdf
|
| |
เอกสารอ้างอิง | |
|
กระบวนรัตน์ วงศ์วิชัย. (2564). การออกแบบระบบบริหารจัดการข้อมูลการลาทางเว็บแอปพลิเค
ชันเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการบุคลากร. วารสารวิทยาการคอมพิวเตอร์, 12(1), 88-
101.
|
|
คำสมบัติ นิลวงศ์, ประวิทย์ แสงทอง, และธนกฤต ศรีประเสริฐ. (2566). การพัฒนาระบบลา
ออนไลน์ด้วย Microsoft Power Platform สำหรับองค์กรภาครัฐ. วารสารเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร, 15(2), 45-59.
|
|
ดุจศรีสกุล จันทร์หอม. (2562). ระบบลางานออนไลน์สำหรับองค์กรเอกชนโดยใช้ PHP และ
MySQL. วารสารวิทยาการคอมพิวเตอร์, 11(2), 55-65.
|
|
มหาวิทยาลัยแม่โจ้. (2555). การพัฒนาระบบจัดการข้อมูลการลาเชื่อมโยงกับระบบ ERP ใน
มหาวิทยาลัย. วารสารวิทยาการสารสนเทศ, 7(2), 33-44.
|
|
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร. (2557). การพัฒนาระบบลางานออนไลน์สำหรับองค์กรราชการ. วารสารเทคโนโลยีสารสนเทศ, 9(3), 45-58.
|
|
มหาวิทยาลัยสยาม. (2562). ระบบลาออนไลน์สำหรับบริษัทเอกชน: การเพิ่มประสิทธิภาพการ
อนุมัติการลา. วารสารเทคโนโลยีสารสนเทศ, 13(1), 20-31.
|
|
มหาวิทยาลัยสยาม. (2562). การพัฒนาระบบฐานข้อมูลและฟอร์มออนไลน์สำหรับการจัดการลา
งานในองค์กร. วารสารวิทยาการสารสนเทศ, 13(2), 50-62.
|
|
รอด สุขใจ. (2564). การพัฒนาระบบจัดการลางานออนไลน์สำหรับมหาวิทยาลัยสยาม. วารสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศ, 8(4), 112-123.
|
|
โรงเรียนศาสนศึกษา. (2564). การพัฒนาระบบลาออนไลน์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงาน
บุคลากรในสถานศึกษา. วารสารศึกษาศาสตร์, 5(1), 70-79.
|
|
สร้อยดอกสน สายสมุทร, จิราพร พิทักษ์ชาติ, และมานะ สินสมบัติ. (2557). การพัฒนาระบบลางาน
ออนไลน์โดยใช้ PHP และ MySQL. วารสารวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ, 10(3), 23-33.
|
|
Barney, J. B. (1991). Firm resources and sustained competitive advantage. Journal
of Management, 17(1), 99–120. https://doi.org/10.1177/014920639101700108.
|
|
Herzberg, F. (1966). Work and the nature of man. Cleveland, OH: World Publishing.
|
|
Kahn, R. L., Wolfe, D. M., Quinn, R. P., Snoek, J. D., & Rosenthal, R. A. (1964).
Organizational stress: Studies in role conflict and ambiguity. Chichester,
UK: John Wiley & Sons.
|
|
Maslow, A. H. (1943). A theory of human motivation. Psychological Review, 50(4),
370–396. https://doi.org/10.1037/h0054346.
|
|
Thompson, J. D. (1967). Organizations in action: Social science bases of
administrative theory. New York, NY: McGraw-Hill.
|
|
Vroom, V. H. (1964). Work and motivation. Chichester, UK: John Wiley & Sons.
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|